กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยี่งอ


“ โครงการอบรมความรู้ในการแก้ปัญหาสุขภาพระดับชุมชน ในเขตเทศบาลตำบลยี่งอ ”

ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายรุสตาร์ การีมาแซ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมความรู้ในการแก้ปัญหาสุขภาพระดับชุมชน ในเขตเทศบาลตำบลยี่งอ

ที่อยู่ ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L8012-1-1 เลขที่ข้อตกลง 2/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 กรกฎาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมความรู้ในการแก้ปัญหาสุขภาพระดับชุมชน ในเขตเทศบาลตำบลยี่งอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยี่งอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมความรู้ในการแก้ปัญหาสุขภาพระดับชุมชน ในเขตเทศบาลตำบลยี่งอ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมความรู้ในการแก้ปัญหาสุขภาพระดับชุมชน ในเขตเทศบาลตำบลยี่งอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยี่งอ อำเภอยี่งอ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L8012-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 31 กรกฎาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยี่งอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

คุณภาพชีวิต ถือได้ว่าเป็นเป้าหมายหลักของสังคมคือประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจทุกเพศทุกวัย จากการศึกษาข้อมูลพบว่ากลุ่มโรค NCDs (Noncommunicable diseasesหรือโรคไม่ติดต่อ) เป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของโลกทั้งในมิติของจำนวนการเสียชีวิตและภาระโรคโดยรวมจากการรายงานข้อมูลขององค์การอนามัยโลก (WHO) พบประชากรทั่วโลกเสียชีวิตจากโรค NCDs มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทั้งด้านปริมาณและสัดส่วนต่อประชากร และรองลงมาเป็นปัญหาของโรคติดต่อ ที่สำคัญในการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศและสิ่งแวดล้อมเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคติดต่อหลายชนิด เนื่องจากเชื้อโรคจะมีชีวิตอยู่ในสิ่งแวดล้อมได้นานขึ้น เจริญเติบโตได้รวดเร็ว สามารถแพร่ระบาดได้ง่ายและเร็ว เช่น โรคติดต่อทางระบบหายใจ (ไข้หวัดใหญ่) โรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะ (ไข้เลือดออก) โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ (อุจจาระร่วง) เป็นต้น โดยประชาชนจะต้องทราบถึงสาเหตุและแนวทางป้องกันโรคที่เกิดขึ้นในพื้นที่ เพื่อให้ระมัดระวังและป้องกันปัจจัยเสี่ยงต่อโรค โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กเล็ก ผู้สูงอายุ ผู้ที่มีโรคประจำตัว และผู้ป่วย โรคเรื้อรัง จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกฝ่ายจะต้องร่วมมืออย่างจริงจังและต่อเนื่องในการเตรียมความพร้อมทั้งบุคคล ครอบครัวและชุมชน จากสภาพปัญหาด้านสุขภาพของประชาชนในปัจจุบัน นับว่าเป็นปรากฎการณ์ของปัญหาใหม่ที่สำคัญปัญหาหนึ่งที่ไม่สามารถจะมองข้ามได้ เนื่องจากปัญหาด้านสุขภาพจะส่งผลกระทบต่อปัญหาอื่นๆ อีกมากมาย เช่น ปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา สุขภาพ เป็นต้น ปัจจุบันปัญหาด้านสุขภาพของประชาชนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคกระดูกและข้อ ตลอดจนปัญหาอุบัติเหตุต่างๆ แม้ว่าจะเป็นอุบัติเหตุจากการทำงานอุบัติเหตุจากการจราจรบนท้องถนน โรคและอุบัติเหตุต่างๆ เหล่านี้ยังเป็นปัญหาใหญ่ของประเทศในด้านการส่งเสริมสุขภาพ การได้รับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจากสถานบริการสาธารณสุข
ซึ่งประชาชนและชุมชนไม่สามารถพึ่งตนเองได้ในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น แม้ว่ากระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้พยายามที่จะแก้ไขปัญหาเหล่านี้ ซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจำเป็นต้องอาศัยกลยุทธ์ในการส่งเสริม ควบคุม ป้องกัน รักษาและฟื้นฟู
เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพของประชาชนในชุมชน           การแก้ไขปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน จำเป็นต้องส่งเสริมการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน ทั้งหน่วยภาครัฐ องค์กรชุมชน ผู้นำชุมชนและอาสาสมัครสาธารณสุข ตลอดจนประชาชนทั่วไปในพื้นที่ให้เข้ามามีส่วนร่วมตระหนักในการแก้ไขปัญหาร่วมกันเป็นสำคัญ โดยการดำเนินงานในลักษณะ “ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการ ร่วมประเมินผล และร่วมรับผิดชอบ” ในทุกระดับ เพื่อช่วยกันค้นหาปัญหา จึงจะสามารถแก้ไขต้นต่อปัญหาการเกิดโรคได้ โดยประชาชนจะต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาที่สอดคล้องกับบริบทและสภาพปัญหาของแต่ละพื้นที่ภายใต้ศักยภาพพื้นที่ของตนเอง หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับให้ความสำคัญกับปัญหาสุขภาพที่แท้จริงของพื้นที่เป็นหลัก สามารถเชื่อมโยงผสมผสานแนวคิด องค์ความรู้ เข้ากับบริบทของพื้นที่ จึงจะทำให้เกิดการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการในระดับพื้นที่อย่างต่อเนื่องและยั่งยืนต่อไปในอนาคต           ดังนั้นทางกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลยี่งอ ได้เล็งเห็นความสำคัญที่จะพัฒนาความรู้และทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงานอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ผู้นำชุมชน และประชาชนทั่วไปในพื้นที่ตลอดจนพัฒนาระบบในการแก้ปัญหาสุขภาพในชุมชน และสามารถป้องกัน ควบคุมโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประชาชนในชุมชน โดยมีเป้าหมายที่จะดำเนินการอบรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) แกนนำชุมชนและประชาชนทั่วในเขตเทศบาลตำบลยี่งอ ให้เป็นผู้มีความรู้ ความเชี่ยวชาญในเรื่องที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในชุมชน เพื่อนำไปถ่ายทอดความรู้ ให้บริการและประสานงานกับประชาชนในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้จัดทำโครงการอบรมความรู้ในการแก้ปัญหาสุขภาพระดับชุมชน ในเขตเทศบาลตำบลยี่งอ ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมให้อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) แกนนำชุมชนและประชาชนทั่วไปมีความรู้ ความเข้าใจ แนวทางในการแก้ปัญหาสุขภาพในชุมชนได้
  2. 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพ ทักษะส่วนบุคคลและชุมชนให้เกิดความพร้อมในการแก้ปัญหาสุขภาพและการดูแลสุขภาพประชาชนในชุมชนได้อย่างถูกต้อง
  3. 3. เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพ และป้องกัน ควบคุมโรคที่สำคัญได้อย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) แกนนำชุมชนและประชาชนทั่วไป ในเขตเทศบาลตำบลยี่งอ มีความรู้ ความเข้าใจ แนวทาง วิธีการในการดำเนินงานเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพที่สามารถป้องกัน ควบคุมโรคที่ทันเหตุการณ์ สามารถดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว และคนในชุมชนได้
    2. อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) แกนนำชุมชนและประชาชนทั่วไป ในเขตเทศบาลตำบลยี่งอ มีทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็วของชุมชน มีความพร้อมในการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรค
    3. อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) แกนนำชุมชนและประชาชนทั่วไป ในเขตเทศบาลตำบลยี่งอ มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ เพื่อลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค ร่วมป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างต่อเนื่อง และสม่ำเสมอ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อส่งเสริมให้อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) แกนนำชุมชนและประชาชนทั่วไปมีความรู้ ความเข้าใจ แนวทางในการแก้ปัญหาสุขภาพในชุมชนได้
    ตัวชี้วัด : 1. อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) แกนนำชุมชนและประชาชนทั่วไป มีความรู้ ความเข้าใจ แนวทางในการแก้ปัญหาสุขภาพ ร้อยละ 100

     

    2 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพ ทักษะส่วนบุคคลและชุมชนให้เกิดความพร้อมในการแก้ปัญหาสุขภาพและการดูแลสุขภาพประชาชนในชุมชนได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : 2. อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) แกนนำชุมชนและประชาชนทั่วไป มีการพัฒนาศักยภาพ ทักษะส่วนบุคคลและชุมชนให้เกิดความพร้อมในการแก้ปัญหาสุขภาพและการดูแลสุขภาพประชาชนในชุมชนได้อย่างถูกต้องมากขึ้น

     

    3 3. เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพ และป้องกัน ควบคุมโรคที่สำคัญได้อย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ
    ตัวชี้วัด : 3. อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) แกนนำชุมชนและประชาชนทั่วไป มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพ และป้องกัน ควบคุมโรคที่สำคัญได้อย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพมากขึ้น

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 50 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) แกนนำชุมชนและประชาชนทั่วไปมีความรู้ ความเข้าใจ แนวทางในการแก้ปัญหาสุขภาพในชุมชนได้ (2) 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพ ทักษะส่วนบุคคลและชุมชนให้เกิดความพร้อมในการแก้ปัญหาสุขภาพและการดูแลสุขภาพประชาชนในชุมชนได้อย่างถูกต้อง (3) 3. เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพ และป้องกัน ควบคุมโรคที่สำคัญได้อย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมความรู้ในการแก้ปัญหาสุขภาพระดับชุมชน ในเขตเทศบาลตำบลยี่งอ จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 67-L8012-1-1

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายรุสตาร์ การีมาแซ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด