กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว


“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2567 ”

ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางเสาวภาค กั๋งเซ่ง

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3346-5-02 เลขที่ข้อตกลง 026/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2567 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 67-L3346-5-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 62,775.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดเป็นโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรคและปัจจุบันโรคสามารถแพร่ระบาดได้ทั้งปี ซึ่งต่างจากในอดีตที่มักจะมีการระบาดมากในช่วงฤดูฝนโรคไข้เลือดออกยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชนแต่ยังพบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลงมากนักทั้งนี้ยังขาดความตระหนักจากประชาชนผู้อยู่อาศัยเป็นหลัก ที่ยังคงมีความเข้าใจว่าเป็นบทบาทของเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ อสม. จึงละเลยเรื่องดูแลบ้านเรือนของตน โดยเฉพาะเรื่องการปฏิบัติตามหลัก 5 ป+ 1ข
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกของประเทศไทย ข้อมูลจากกรมควบคุมโรค ปี 2566 พบว่ามีผู้ป่วยทั้งหมด 156,097 ราย เสียชีวิต 175 ราย ซึ่งผู้ป่วยสูงกว่าปี 2565 ถึง 3.4 เท่า (ปี 2565 ผู้ป่วย 45,145 ราย) ข้อมูลจากกรมควบคุมโรค สำหรับสถาการณ์โรคไข้เลือดออกของจังหวัดพัทลุง พบว่าปี 2565 มีผู้ป่วย 189 ราย และปี 2566 มีผู้ป่วย 2,184 ราย (ข้อมูลจากกลุ่มงานโรคติดต่อและงานระบาดวิทยา สสจ.พัทลุง) ซึ่งพบว่ายอดผู้ป่วยสูงกว่าปี 2565 ถึง 11.5 เท่าสำหรับพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตลิ่งชัน การระบาดของโรคไข้เลือดออก5 ปีย้อนหลัง ตั้งแต่ปี 2562 -2566 เท่ากับ 368.94 , 228.59, 35.06 , 0.00 และ 631.69 ต่อประชากรแสนคนตามลำดับ ไม่มีผู้ป่วยตายซึ่งปี 2566 มีอัตราป่วยสูงกว่าค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง 2.7 เท่า การระบาดของโรคไข้เลือดออกส่วนมากจะพบผู้ป่วยในช่วงเดือนมิถุนายน - กันยายน ของทุกปี ซึ่งตรงกับช่วงเวลาของการเปิดภาคเรียนพอดีและผู้ป่วยส่วนใหญ่ก็จะอยู่ในกลุ่มวัยเรียนทั้งระดับประถม มัธยมและมหาวิทยาลัย ซึ่งมีความหลากหลายจากที่มาของภูมิลำเนา ด้วยเหตุนี้การควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือทั้งจากชุมชน สถานศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคประชาชนและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องจึงคาดการณ์ว่าในปี 2567 หากไม่มีการป้องกันโรคแต่เนิ่นๆ อาจมีการระบาดอย่างต่อเนื่องจากปี 2566 จึงต้องมีการเฝ้าระวังพื้นที่แหล่งรังโรคของปีผ่านมาอย่างอย่างต่อเนื่อง โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องรับผิดชอบร่วมกัน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตลิ่งชันจึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2567 ขึ้นเพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชน ชุมชน เกิดความร่วมมือในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย และตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก มีการควบคุมป้องกันการระบาดของโรคได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมสุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลาย แบบไขว้ จำนวน 2 ครั้ง
  2. การตรวจหาเชื้อไข้เลือดออกเบื้องต้นในผู้ป่วยที่มีอาการเข้าข่าย
  3. กิจกรรมควบคุมโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง
  2. ประชาชนให้ความตระหนักต่อการดูแลบ้านเรือน กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : ทุกหมู่บ้านในเขตรับผิดชอบมีค่า HI,CI ไม่เกินร้อยละ 10
10.00 10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสุ่มสำรวจลูกน้ำยุงลาย แบบไขว้ จำนวน 2 ครั้ง (2) การตรวจหาเชื้อไข้เลือดออกเบื้องต้นในผู้ป่วยที่มีอาการเข้าข่าย (3) กิจกรรมควบคุมโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 67-L3346-5-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเสาวภาค กั๋งเซ่ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด