โครงการเสริมสร้างความรู้เรื่องโทษจากเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเสริมสร้างความรู้เรื่องโทษจากเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567 ”
ณ ห้องประชุมดาหลา โรงพยาบาลทุ่งหว้า
หัวหน้าโครงการ
ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเทศบาลตำบลทุ่งหว้า
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างความรู้เรื่องโทษจากเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567
ที่อยู่ ณ ห้องประชุมดาหลา โรงพยาบาลทุ่งหว้า จังหวัด
รหัสโครงการ L8009-002-012 เลขที่ข้อตกลง /2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเสริมสร้างความรู้เรื่องโทษจากเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ณ ห้องประชุมดาหลา โรงพยาบาลทุ่งหว้า
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างความรู้เรื่องโทษจากเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเสริมสร้างความรู้ โทษ ผลกระทบจากเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานแก่คนในชุมชน (2) 2.เพื่อให้คนในชุมชนรู้จักป้องกัน แก้ปัญหาที่เกิดจากการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ (3) 3.เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่คนในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน กิจกรรมที่ 2 สำรวจข้อมูลสถานการณ์ ปัญหาการใช้เครื่องสำอางค์และผลิตภัณฑ์สุขภาพ กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้โทษและผลกระทบจากการใช้เครื่องสำอางค์และผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน คณะทำงาสน 12 คน ตัวเเทนชุมชน 48 คน รวมจำนวน 60 คน
ผลการดำเนินงาน จากการจัดกิจกรรมได้ทราบถึงข้อมูลสถานการณ์ปัญหาการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน ผู้บริโภคถูกเอาเปรียบและได้รับผลกระทบจากผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีคุณภาพ อย.จึงเข้ามามีบทบาทในการสืบสวนหาสาเหตุ และได้ประกาศรายชื่อสารต้องห้ามใช้เป็นส่วนประกอบในเครื่องสำอาง ได้แก่ สารปรอท สารไฮโดรควิโนน สารสเตียรอยด์ และกรดเรติโนอิก ซึ่งสารดังกล่าวให้โทษดังนี้
สารสเตียรอยด์ พบบ่อยในเครื่องสำอาง หลังใช้ไป 2-4 สัปดาห์ จะทำให้ผิวบางลง ผิวอ่อนแอ ระคายเคืองเกิดผดผื่นหรือสิวอุดตันได้ง่าย
สารปรอท ทำให้ฝ้า กระ สิวลดลง ช่วยให้ผิวขาวขึ้น หากใช้ต่อเนื่องกันเป็นเวลานานจะทำให้เกิดพิษสะสมในผิวหนัง ทำให้สีผิวคล้ำลงกลายเป็นสีดำอมเทาและดูดซึมเข้าสู่เลือด ทำให้ตับและไตอักเสบหรือทำลายระบบประสาทส่วนกลาง หากใช้ในสตรีมีครรภ์ อาจทำให้เกิดทารกพิการและปัญญาอ่อนได้
สารไฮโดรควิโนน มักพบในครีมรักษาฝ้า หากใช้เกินขนาด อาจทำให้เกิดอาการแสบร้อน ตุ่มแดง และสีผิวคล้ำขึ้นในบริเวณที่ทา อาจรุนแรงจนกลายเป็นฝ้าถาวรได้
กรดเรติโนอิก ต้องขึ้นทะเบียนเป็นยาเท่านั้น หากอยู่ในเครื่องสำอางจะจัดเป็นสารอันตราย เนื่องจากมีฤทธิ์ในการผลัดเซลล์ผิวหนัง ทำให้ผิวหนังเกิดการระคายเคือง ลอก แดง หรือผิวหนังบางลงได้
ได้รับความรู้เรื่องโทษ และผลข้างเคียงแล้ว ยังรู้ถึงช่องทางการร้องเรียนเมื่อมีผลกระทบของผู้บริโภคด้วย
วิธีการเลือกใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ให้ผู้บริโภคเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางจากสถานที่จำหน่ายที่มีหลักแหล่งน่าเชื่อถือ และก่อนตัดสินใจซื้อควรสังเกตฉลากผลิตภัณฑ์ โดยฉลากต้องมีข้อความภาษาไทย ระบุข้อความอันจำเป็นครบถ้วน ได้แก่ ชื่อและชนิดของเครื่องสำอาง เลขที่รับแจ้ง เป็นเลขสิบหลัก สารที่ใช้เป็นส่วนผสม วิธีการใช้ ชื่อที่ตั้งผู้ผลิต/ผู้นำเข้า ปริมาณสุทธิ เลขที่แสดงครั้งที่ผลิต เดือนปีที่ผลิต และคำเตือน อย่างไรก็ตาม หากผู้บริโภคพบผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ไม่ได้มาตรฐาน หรือได้รับอันตรายจากการใช้เครื่องสำอาง ให้ร้องเรียนสายด่วน อย. โทร 1556 หรือส่งจดหมายไปที่ ตู้ปณ.1556 ปณฝ.กระทรวงสาธารณสุข จ.นนทบุรี 11004 เพื่อ อย.ได้ตรวจสอบและดำเนินการตามกฎหมายต่อไป
จากการทดสอบเครื่องสำอางของการอบรม 30 ตัวอย่าง สรุปเจอสารสเตียรอยด์ 5 ตัวอย่างที่สีผลิตภัณฑ์เปลี่ยนไปจากเดิมเมื่อเทียบกับผลของชุดทดสอบ
2.ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์
2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ ** บรรลุตามวัตถุประสงค์ **
2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม..........60............คน
3. การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ.............30,000...........บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง......................30,000..........บาท คิดเป็นร้อยละ.........100......
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุน................-...................บาท คิดเป็นร้อยละ........................
4.ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ** ไม่มี ****
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยสถานการณ์ปัจจุบันยุคสมัยที่เปลี่ยนไปมากทั้งทางด้านเทคโนโลยีวัตถุนิยมการแข่งขันกันทำมาหากินซึ่งให้ได้มาซึ่งปัจจัยการยังชีพเพราะเศรษฐกิจที่ไม่ค่อยดีเท่าที่ควรคนในชุมชนจึงมีความจำเป็นต้องหาอาชีพเสริมเพื่อเป็นรายได้ให้กับครอบครัวบ้างก็ออกหางานทำนอกบ้านบ้างก็ได้จ้างงานต่างๆฯลฯและด้วยเทคโนโลยียุคโซเชียลเน็ตเวิร์คงานที่ง่ายไม่เสียเวลาเช่นแม่ค้าออนไลน์ส่วนมากจะเป็นผู้หญิงที่ขายเครื่องสำอางยาอาหารเสริมและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่เสริมความงามทั้งหมดนี้ทั้งผู้ขายและผู้ซื้อต่างก็มีความเสี่ยงต่อการเกิดผลกระทบที่ได้รับจากผลิตภัณฑ์เหล่านี้บางคนไม่ได้คำนึงโทษขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องดังกล่าว
ดังนั้นทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขเทศบาลตำบลทุ่งหว้าได้มีความตระหนักและเล็งเห็นว่าคนในชุมชนเทศบาลตำบลทุ่งหว้าสมควรอย่างยิ่งที่จะได้รับความรู้ในเรื่องของโทษที่จะได้รับจากเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพเช่นสารสเตียรอยด์กรดวิตามินเอไวต์เอโฟตามีนเป็นต้นที่เข้าสู่ร่างกายแล้วจะทำให้เกิดอาการข้างเคียงจนเกิดโรคต่างๆได้จึงได้จัดทำโครงการเสริมสร้างความรู้เรื่องโทษจากเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพเพื่อขอให้อนุมัติงบประมาณจากคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลทุ่งหว้าต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อเสริมสร้างความรู้ โทษ ผลกระทบจากเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานแก่คนในชุมชน
- 2.เพื่อให้คนในชุมชนรู้จักป้องกัน แก้ปัญหาที่เกิดจากการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ
- 3.เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่คนในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน กิจกรรมที่ 2 สำรวจข้อมูลสถานการณ์ ปัญหาการใช้เครื่องสำอางค์และผลิตภัณฑ์สุขภาพ กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้โทษและผลกระทบจากการใช้เครื่องสำอางค์และผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน คณะทำงาสน 12 คน ตัวเเทนชุมชน 48 คน รวมจำนวน 60 ค
- กิจกรรมที่ 2 สำรวจข้อมูลสถานการณ์ปัญหาการใช้เครื่องสำอางค์และผลิภัณฑ์สุขภาพ
- กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้
- กิจกรรมประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 สรุปผลการดำเนินงานโครงการถอดบทเรียนการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนมีความรู้ตระหนักรู้สามารถบอกต่อถึงโทษของเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ
2.เกิดสุขภาพที่ดีทั้งด้านร่างกายจิตใจและสังคม
3.ประชาชนได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากการใช้ผลิตภัณฑ์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน
วันที่ 20 กรกฎาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 เตรียมวางเเผนการดำเนินโครงการแบ่งบทบาทหน้าที่
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
.จากการจัดกิจกรรมได้ทราบถึงข้อมูลสถานการณ์ปัญหาการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน ผู้บริโภคถูกเอาเปรียบและได้รับผลกระทบจากผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีคุณภาพ อย.จึงเข้ามามีบทบาทในการสืบสวนหาสาเหตุ และได้ประกาศรายชื่อสารต้องห้ามใช้เป็นส่วนประกอบในเครื่องสำอาง ได้แก่ สารปรอท สารไฮโดรควิโนน สารสเตียรอยด์ และกรดเรติโนอิก ซึ่งสารดังกล่าวให้โทษดังนี้
สารสเตียรอยด์ พบบ่อยในเครื่องสำอาง หลังใช้ไป 2-4 สัปดาห์ จะทำให้ผิวบางลง ผิวอ่อนแอ ระคายเคืองเกิดผดผื่นหรือสิวอุดตันได้ง่าย
สารปรอท ทำให้ฝ้า กระ สิวลดลง ช่วยให้ผิวขาวขึ้น หากใช้ต่อเนื่องกันเป็นเวลานานจะทำให้เกิดพิษสะสมในผิวหนัง ทำให้สีผิวคล้ำลงกลายเป็นสีดำอมเทาและดูดซึมเข้าสู่เลือด ทำให้ตับและไตอักเสบหรือทำลายระบบประสาทส่วนกลาง หากใช้ในสตรีมีครรภ์ อาจทำให้เกิดทารกพิการและปัญญาอ่อนได้ สารไฮโดรควิโนน มักพบในครีมรักษาฝ้า หากใช้เกินขนาด อาจทำให้เกิดอาการแสบร้อน ตุ่มแดง และสีผิวคล้ำขึ้นในบริเวณที่ทา อาจรุนแรงจนกลายเป็นฝ้าถาวรได้
กรดเรติโนอิก ต้องขึ้นทะเบียนเป็นยาเท่านั้น หากอยู่ในเครื่องสำอางจะจัดเป็นสารอันตราย เนื่องจากมีฤทธิ์ในการผลัดเซลล์ผิวหนัง ทำให้ผิวหนังเกิดการระคายเคือง ลอก แดง หรือผิวหนังบางลงได้
ได้รับความรู้เรื่องโทษ และผลข้างเคียงแล้ว ยังรู้ถึงช่องทางการร้องเรียนเมื่อมีผลกระทบของผู้บริโภคด้วยวิธีการเลือกใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ให้ผู้บริโภคเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางจากสถานที่จำหน่ายที่มีหลักแหล่งน่าเชื่อถือ และก่อนตัดสินใจซื้อควรสังเกตฉลากผลิตภัณฑ์ โดยฉลากต้องมีข้อความภาษาไทย ระบุข้อความอันจำเป็นครบถ้วน ได้แก่ ชื่อและชนิดของเครื่องสำอาง เลขที่รับแจ้ง เป็นเลขสิบหลัก สารที่ใช้เป็นส่วนผสม วิธีการใช้ ชื่อที่ตั้งผู้ผลิต/ผู้นำเข้า ปริมาณสุทธิ เลขที่แสดงครั้งที่ผลิต เดือนปีที่ผลิต และคำเตือน อย่างไรก็ตาม หากผู้บริโภคพบผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ไม่ได้มาตรฐาน หรือได้รับอันตรายจากการใช้เครื่องสำอาง ให้ร้องเรียนสายด่วน อย. โทร 1556 หรือส่งจดหมายไปที่ ตู้ปณ.1556 ปณฝ.กระทรวงสาธารณสุข จ.นนทบุรี 11004 เพื่อ อย.ได้ตรวจสอบและดำเนินการตามกฎหมายต่อไปจากการทดสอบเครื่องสำอางของการอบรม 30 ตัวอย่าง สรุปเจอสารสเตียรอยด์ 5 ตัวอย่างที่สีผลิตภัณฑ์เปลี่ยนไปจากเดิมเมื่อเทียบกับผลของชุดทดสอบ
0
0
2. กิจกรรมที่ 2 สำรวจข้อมูลสถานการณ์ปัญหาการใช้เครื่องสำอางค์และผลิภัณฑ์สุขภาพ
วันที่ 24 กรกฎาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
สำรวจข้อมูลสถานการณ์ปัญหาการใช้เครื่องสำอางค์และผลิภัณฑ์สุขภาพ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ประชาชนได้รับข้อมูลประชาสัมพันธ์ในการเลือกซื้อเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน ร้อยละ 90
0
0
3. กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้โทษและผลกระทบจากการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน
วันที่ 28 กรกฎาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
1. ประชุมคณะทำงาน
2. โครงการเพื่อขออนุมัติ
3. ติดต่อประสานงานวิทยากร และผู้เกี่ยวข้อง
4. ลงพื้นที่สำรวจข้อมูลการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ
5. อบรมให้ความรู้เรื่องโทษจากเครื่องสำอาง / ปรับทัศนคติ / ทดสอบสารสเตียรอยด์ในเครื่องสำอาง
6. สรุปผลการดำเนินงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
.จากการจัดกิจกรรมได้ทราบถึงข้อมูลสถานการณ์ปัญหาการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน ผู้บริโภคถูกเอาเปรียบและได้รับผลกระทบจากผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีคุณภาพ อย.จึงเข้ามามีบทบาทในการสืบสวนหาสาเหตุ และได้ประกาศรายชื่อสารต้องห้ามใช้เป็นส่วนประกอบในเครื่องสำอาง ได้แก่ สารปรอท สารไฮโดรควิโนน สารสเตียรอยด์ และกรดเรติโนอิก ซึ่งสารดังกล่าวให้โทษดังนี้
สารสเตียรอยด์ พบบ่อยในเครื่องสำอาง หลังใช้ไป 2-4 สัปดาห์ จะทำให้ผิวบางลง ผิวอ่อนแอ ระคายเคืองเกิดผดผื่นหรือสิวอุดตันได้ง่าย
สารปรอท ทำให้ฝ้า กระ สิวลดลง ช่วยให้ผิวขาวขึ้น หากใช้ต่อเนื่องกันเป็นเวลานานจะทำให้เกิดพิษสะสมในผิวหนัง ทำให้สีผิวคล้ำลงกลายเป็นสีดำอมเทาและดูดซึมเข้าสู่เลือด ทำให้ตับและไตอักเสบหรือทำลายระบบประสาทส่วนกลาง หากใช้ในสตรีมีครรภ์ อาจทำให้เกิดทารกพิการและปัญญาอ่อนได้ารไฮโดรควิโนน มักพบในครีมรักษาฝ้า หากใช้เกินขนาด อาจทำให้เกิดอาการแสบร้อน ตุ่มแดง และสีผิวคล้ำขึ้นในบริเวณที่ทา อาจรุนแรงจนกลายเป็นฝ้าถาวรได้กรดเรติโนอิก ต้องขึ้นทะเบียนเป็นยาเท่านั้น หากอยู่ในเครื่องสำอางจะจัดเป็นสารอันตราย เนื่องจากมีฤทธิ์ในการผลัดเซลล์ผิวหนัง ทำให้ผิวหนังเกิดการระคายเคือง ลอก แดง หรือผิวหนังบางลงได้
ได้รับความรู้เรื่องโทษ และผลข้างเคียงแล้ว ยังรู้ถึงช่องทางการร้องเรียนเมื่อมีผลกระทบของผู้บริโภคด้วยวิธีการเลือกใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ให้ผู้บริโภคเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางจากสถานที่จำหน่ายที่มีหลักแหล่งน่าเชื่อถือ และก่อนตัดสินใจซื้อควรสังเกตฉลากผลิตภัณฑ์ โดยฉลากต้องมีข้อความภาษาไทย ระบุข้อความอันจำเป็นครบถ้วน ได้แก่ ชื่อและชนิดของเครื่องสำอาง เลขที่รับแจ้ง เป็นเลขสิบหลัก สารที่ใช้เป็นส่วนผสม วิธีการใช้ ชื่อที่ตั้งผู้ผลิต/ผู้นำเข้า ปริมาณสุทธิ เลขที่แสดงครั้งที่ผลิต เดือนปีที่ผลิต และคำเตือน อย่างไรก็ตาม หากผู้บริโภคพบผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ไม่ได้มาตรฐาน หรือได้รับอันตรายจากการใช้เครื่องสำอาง ให้ร้องเรียนสายด่วน อย. โทร 1556 หรือส่งจดหมายไปที่ ตู้ปณ.1556 ปณฝ.กระทรวงสาธารณสุข จ.นนทบุรี 11004 เพื่อ อย.ได้ตรวจสอบและดำเนินการตามกฎหมายต่อไปจากการทดสอบเครื่องสำอางของการอบรม 30 ตัวอย่าง สรุปเจอสารสเตียรอยด์ 5 ตัวอย่างที่สีผลิตภัณฑ์เปลี่ยนไปจากเดิมเมื่อเทียบกับผลของชุดทดสอบ
0
0
4. กิจกรรมประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 สรุปผลการดำเนินงานโครงการถอดบทเรียนการดำเนินงานโครงการ
วันที่ 31 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
สรุปผลการดำเนินงานโครงการถอดบทเรียนการดำเนินงานโครงการ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ประชาชนมีความรู้ ตระหนักรู้ สามารถบอกต่อถึงโทษของเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ
2.ประชาชนเกิดสุขภาพที่ดี ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม
3.ประชาชนได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากการใช้ผลิตภัณฑ์
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อเสริมสร้างความรู้ โทษ ผลกระทบจากเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานแก่คนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ประชาชนได้รับข้อมูลประชาสัมพันธ์ในการเลือกซื้อเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน ร้อยละ 90
100.00
100.00
100.00
2
2.เพื่อให้คนในชุมชนรู้จักป้องกัน แก้ปัญหาที่เกิดจากการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 2.คณะทำงานมีการติดตาม สังเกตการณ์อย่างต่อเนื่อง
100.00
100.00
100.00
3
3.เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่คนในชุมชน
ตัวชี้วัด :
100.00
100.00
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
60
60
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเสริมสร้างความรู้ โทษ ผลกระทบจากเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานแก่คนในชุมชน (2) 2.เพื่อให้คนในชุมชนรู้จักป้องกัน แก้ปัญหาที่เกิดจากการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ (3) 3.เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่คนในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน กิจกรรมที่ 2 สำรวจข้อมูลสถานการณ์ ปัญหาการใช้เครื่องสำอางค์และผลิตภัณฑ์สุขภาพ กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้โทษและผลกระทบจากการใช้เครื่องสำอางค์และผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน คณะทำงาสน 12 คน ตัวเเทนชุมชน 48 คน รวมจำนวน 60 คน
ผลการดำเนินงาน จากการจัดกิจกรรมได้ทราบถึงข้อมูลสถานการณ์ปัญหาการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน ผู้บริโภคถูกเอาเปรียบและได้รับผลกระทบจากผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีคุณภาพ อย.จึงเข้ามามีบทบาทในการสืบสวนหาสาเหตุ และได้ประกาศรายชื่อสารต้องห้ามใช้เป็นส่วนประกอบในเครื่องสำอาง ได้แก่ สารปรอท สารไฮโดรควิโนน สารสเตียรอยด์ และกรดเรติโนอิก ซึ่งสารดังกล่าวให้โทษดังนี้
สารสเตียรอยด์ พบบ่อยในเครื่องสำอาง หลังใช้ไป 2-4 สัปดาห์ จะทำให้ผิวบางลง ผิวอ่อนแอ ระคายเคืองเกิดผดผื่นหรือสิวอุดตันได้ง่าย
สารปรอท ทำให้ฝ้า กระ สิวลดลง ช่วยให้ผิวขาวขึ้น หากใช้ต่อเนื่องกันเป็นเวลานานจะทำให้เกิดพิษสะสมในผิวหนัง ทำให้สีผิวคล้ำลงกลายเป็นสีดำอมเทาและดูดซึมเข้าสู่เลือด ทำให้ตับและไตอักเสบหรือทำลายระบบประสาทส่วนกลาง หากใช้ในสตรีมีครรภ์ อาจทำให้เกิดทารกพิการและปัญญาอ่อนได้
สารไฮโดรควิโนน มักพบในครีมรักษาฝ้า หากใช้เกินขนาด อาจทำให้เกิดอาการแสบร้อน ตุ่มแดง และสีผิวคล้ำขึ้นในบริเวณที่ทา อาจรุนแรงจนกลายเป็นฝ้าถาวรได้
กรดเรติโนอิก ต้องขึ้นทะเบียนเป็นยาเท่านั้น หากอยู่ในเครื่องสำอางจะจัดเป็นสารอันตราย เนื่องจากมีฤทธิ์ในการผลัดเซลล์ผิวหนัง ทำให้ผิวหนังเกิดการระคายเคือง ลอก แดง หรือผิวหนังบางลงได้
ได้รับความรู้เรื่องโทษ และผลข้างเคียงแล้ว ยังรู้ถึงช่องทางการร้องเรียนเมื่อมีผลกระทบของผู้บริโภคด้วย
วิธีการเลือกใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ให้ผู้บริโภคเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางจากสถานที่จำหน่ายที่มีหลักแหล่งน่าเชื่อถือ และก่อนตัดสินใจซื้อควรสังเกตฉลากผลิตภัณฑ์ โดยฉลากต้องมีข้อความภาษาไทย ระบุข้อความอันจำเป็นครบถ้วน ได้แก่ ชื่อและชนิดของเครื่องสำอาง เลขที่รับแจ้ง เป็นเลขสิบหลัก สารที่ใช้เป็นส่วนผสม วิธีการใช้ ชื่อที่ตั้งผู้ผลิต/ผู้นำเข้า ปริมาณสุทธิ เลขที่แสดงครั้งที่ผลิต เดือนปีที่ผลิต และคำเตือน อย่างไรก็ตาม หากผู้บริโภคพบผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ไม่ได้มาตรฐาน หรือได้รับอันตรายจากการใช้เครื่องสำอาง ให้ร้องเรียนสายด่วน อย. โทร 1556 หรือส่งจดหมายไปที่ ตู้ปณ.1556 ปณฝ.กระทรวงสาธารณสุข จ.นนทบุรี 11004 เพื่อ อย.ได้ตรวจสอบและดำเนินการตามกฎหมายต่อไป
จากการทดสอบเครื่องสำอางของการอบรม 30 ตัวอย่าง สรุปเจอสารสเตียรอยด์ 5 ตัวอย่างที่สีผลิตภัณฑ์เปลี่ยนไปจากเดิมเมื่อเทียบกับผลของชุดทดสอบ
2.ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์
2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ ** บรรลุตามวัตถุประสงค์ **
2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม..........60............คน
3. การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ.............30,000...........บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง......................30,000..........บาท คิดเป็นร้อยละ.........100......
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุน................-...................บาท คิดเป็นร้อยละ........................
4.ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ** ไม่มี ****
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างความรู้เรื่องโทษจากเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567
รหัสโครงการ L8009-002-012 รหัสสัญญา /2567 ระยะเวลาโครงการ 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โครงการเสริมสร้างความรู้เรื่องโทษจากเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด
รหัสโครงการ L8009-002-012
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเทศบาลตำบลทุ่งหว้า )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเสริมสร้างความรู้เรื่องโทษจากเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567 ”
ณ ห้องประชุมดาหลา โรงพยาบาลทุ่งหว้า
หัวหน้าโครงการ
ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเทศบาลตำบลทุ่งหว้า
กันยายน 2567
ที่อยู่ ณ ห้องประชุมดาหลา โรงพยาบาลทุ่งหว้า จังหวัด
รหัสโครงการ L8009-002-012 เลขที่ข้อตกลง /2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเสริมสร้างความรู้เรื่องโทษจากเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ณ ห้องประชุมดาหลา โรงพยาบาลทุ่งหว้า
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างความรู้เรื่องโทษจากเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเสริมสร้างความรู้ โทษ ผลกระทบจากเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานแก่คนในชุมชน (2) 2.เพื่อให้คนในชุมชนรู้จักป้องกัน แก้ปัญหาที่เกิดจากการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ (3) 3.เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่คนในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน กิจกรรมที่ 2 สำรวจข้อมูลสถานการณ์ ปัญหาการใช้เครื่องสำอางค์และผลิตภัณฑ์สุขภาพ กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้โทษและผลกระทบจากการใช้เครื่องสำอางค์และผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน คณะทำงาสน 12 คน ตัวเเทนชุมชน 48 คน รวมจำนวน 60 คน
ผลการดำเนินงาน จากการจัดกิจกรรมได้ทราบถึงข้อมูลสถานการณ์ปัญหาการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน ผู้บริโภคถูกเอาเปรียบและได้รับผลกระทบจากผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีคุณภาพ อย.จึงเข้ามามีบทบาทในการสืบสวนหาสาเหตุ และได้ประกาศรายชื่อสารต้องห้ามใช้เป็นส่วนประกอบในเครื่องสำอาง ได้แก่ สารปรอท สารไฮโดรควิโนน สารสเตียรอยด์ และกรดเรติโนอิก ซึ่งสารดังกล่าวให้โทษดังนี้
สารสเตียรอยด์ พบบ่อยในเครื่องสำอาง หลังใช้ไป 2-4 สัปดาห์ จะทำให้ผิวบางลง ผิวอ่อนแอ ระคายเคืองเกิดผดผื่นหรือสิวอุดตันได้ง่าย
สารปรอท ทำให้ฝ้า กระ สิวลดลง ช่วยให้ผิวขาวขึ้น หากใช้ต่อเนื่องกันเป็นเวลานานจะทำให้เกิดพิษสะสมในผิวหนัง ทำให้สีผิวคล้ำลงกลายเป็นสีดำอมเทาและดูดซึมเข้าสู่เลือด ทำให้ตับและไตอักเสบหรือทำลายระบบประสาทส่วนกลาง หากใช้ในสตรีมีครรภ์ อาจทำให้เกิดทารกพิการและปัญญาอ่อนได้
สารไฮโดรควิโนน มักพบในครีมรักษาฝ้า หากใช้เกินขนาด อาจทำให้เกิดอาการแสบร้อน ตุ่มแดง และสีผิวคล้ำขึ้นในบริเวณที่ทา อาจรุนแรงจนกลายเป็นฝ้าถาวรได้
กรดเรติโนอิก ต้องขึ้นทะเบียนเป็นยาเท่านั้น หากอยู่ในเครื่องสำอางจะจัดเป็นสารอันตราย เนื่องจากมีฤทธิ์ในการผลัดเซลล์ผิวหนัง ทำให้ผิวหนังเกิดการระคายเคือง ลอก แดง หรือผิวหนังบางลงได้
ได้รับความรู้เรื่องโทษ และผลข้างเคียงแล้ว ยังรู้ถึงช่องทางการร้องเรียนเมื่อมีผลกระทบของผู้บริโภคด้วย
วิธีการเลือกใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ให้ผู้บริโภคเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางจากสถานที่จำหน่ายที่มีหลักแหล่งน่าเชื่อถือ และก่อนตัดสินใจซื้อควรสังเกตฉลากผลิตภัณฑ์ โดยฉลากต้องมีข้อความภาษาไทย ระบุข้อความอันจำเป็นครบถ้วน ได้แก่ ชื่อและชนิดของเครื่องสำอาง เลขที่รับแจ้ง เป็นเลขสิบหลัก สารที่ใช้เป็นส่วนผสม วิธีการใช้ ชื่อที่ตั้งผู้ผลิต/ผู้นำเข้า ปริมาณสุทธิ เลขที่แสดงครั้งที่ผลิต เดือนปีที่ผลิต และคำเตือน อย่างไรก็ตาม หากผู้บริโภคพบผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ไม่ได้มาตรฐาน หรือได้รับอันตรายจากการใช้เครื่องสำอาง ให้ร้องเรียนสายด่วน อย. โทร 1556 หรือส่งจดหมายไปที่ ตู้ปณ.1556 ปณฝ.กระทรวงสาธารณสุข จ.นนทบุรี 11004 เพื่อ อย.ได้ตรวจสอบและดำเนินการตามกฎหมายต่อไป
จากการทดสอบเครื่องสำอางของการอบรม 30 ตัวอย่าง สรุปเจอสารสเตียรอยด์ 5 ตัวอย่างที่สีผลิตภัณฑ์เปลี่ยนไปจากเดิมเมื่อเทียบกับผลของชุดทดสอบ
2.ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์
2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ ** บรรลุตามวัตถุประสงค์ **
2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม..........60............คน
3. การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ.............30,000...........บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง......................30,000..........บาท คิดเป็นร้อยละ.........100......
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุน................-...................บาท คิดเป็นร้อยละ........................
4.ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ** ไม่มี ****
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยสถานการณ์ปัจจุบันยุคสมัยที่เปลี่ยนไปมากทั้งทางด้านเทคโนโลยีวัตถุนิยมการแข่งขันกันทำมาหากินซึ่งให้ได้มาซึ่งปัจจัยการยังชีพเพราะเศรษฐกิจที่ไม่ค่อยดีเท่าที่ควรคนในชุมชนจึงมีความจำเป็นต้องหาอาชีพเสริมเพื่อเป็นรายได้ให้กับครอบครัวบ้างก็ออกหางานทำนอกบ้านบ้างก็ได้จ้างงานต่างๆฯลฯและด้วยเทคโนโลยียุคโซเชียลเน็ตเวิร์คงานที่ง่ายไม่เสียเวลาเช่นแม่ค้าออนไลน์ส่วนมากจะเป็นผู้หญิงที่ขายเครื่องสำอางยาอาหารเสริมและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่เสริมความงามทั้งหมดนี้ทั้งผู้ขายและผู้ซื้อต่างก็มีความเสี่ยงต่อการเกิดผลกระทบที่ได้รับจากผลิตภัณฑ์เหล่านี้บางคนไม่ได้คำนึงโทษขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องดังกล่าว ดังนั้นทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขเทศบาลตำบลทุ่งหว้าได้มีความตระหนักและเล็งเห็นว่าคนในชุมชนเทศบาลตำบลทุ่งหว้าสมควรอย่างยิ่งที่จะได้รับความรู้ในเรื่องของโทษที่จะได้รับจากเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพเช่นสารสเตียรอยด์กรดวิตามินเอไวต์เอโฟตามีนเป็นต้นที่เข้าสู่ร่างกายแล้วจะทำให้เกิดอาการข้างเคียงจนเกิดโรคต่างๆได้จึงได้จัดทำโครงการเสริมสร้างความรู้เรื่องโทษจากเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพเพื่อขอให้อนุมัติงบประมาณจากคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลทุ่งหว้าต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อเสริมสร้างความรู้ โทษ ผลกระทบจากเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานแก่คนในชุมชน
- 2.เพื่อให้คนในชุมชนรู้จักป้องกัน แก้ปัญหาที่เกิดจากการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ
- 3.เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่คนในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน กิจกรรมที่ 2 สำรวจข้อมูลสถานการณ์ ปัญหาการใช้เครื่องสำอางค์และผลิตภัณฑ์สุขภาพ กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้โทษและผลกระทบจากการใช้เครื่องสำอางค์และผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน คณะทำงาสน 12 คน ตัวเเทนชุมชน 48 คน รวมจำนวน 60 ค
- กิจกรรมที่ 2 สำรวจข้อมูลสถานการณ์ปัญหาการใช้เครื่องสำอางค์และผลิภัณฑ์สุขภาพ
- กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้
- กิจกรรมประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 สรุปผลการดำเนินงานโครงการถอดบทเรียนการดำเนินงานโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนมีความรู้ตระหนักรู้สามารถบอกต่อถึงโทษของเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ 2.เกิดสุขภาพที่ดีทั้งด้านร่างกายจิตใจและสังคม 3.ประชาชนได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากการใช้ผลิตภัณฑ์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน |
||
วันที่ 20 กรกฎาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 เตรียมวางเเผนการดำเนินโครงการแบ่งบทบาทหน้าที่ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.จากการจัดกิจกรรมได้ทราบถึงข้อมูลสถานการณ์ปัญหาการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน ผู้บริโภคถูกเอาเปรียบและได้รับผลกระทบจากผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีคุณภาพ อย.จึงเข้ามามีบทบาทในการสืบสวนหาสาเหตุ และได้ประกาศรายชื่อสารต้องห้ามใช้เป็นส่วนประกอบในเครื่องสำอาง ได้แก่ สารปรอท สารไฮโดรควิโนน สารสเตียรอยด์ และกรดเรติโนอิก ซึ่งสารดังกล่าวให้โทษดังนี้ สารสเตียรอยด์ พบบ่อยในเครื่องสำอาง หลังใช้ไป 2-4 สัปดาห์ จะทำให้ผิวบางลง ผิวอ่อนแอ ระคายเคืองเกิดผดผื่นหรือสิวอุดตันได้ง่าย สารปรอท ทำให้ฝ้า กระ สิวลดลง ช่วยให้ผิวขาวขึ้น หากใช้ต่อเนื่องกันเป็นเวลานานจะทำให้เกิดพิษสะสมในผิวหนัง ทำให้สีผิวคล้ำลงกลายเป็นสีดำอมเทาและดูดซึมเข้าสู่เลือด ทำให้ตับและไตอักเสบหรือทำลายระบบประสาทส่วนกลาง หากใช้ในสตรีมีครรภ์ อาจทำให้เกิดทารกพิการและปัญญาอ่อนได้ สารไฮโดรควิโนน มักพบในครีมรักษาฝ้า หากใช้เกินขนาด อาจทำให้เกิดอาการแสบร้อน ตุ่มแดง และสีผิวคล้ำขึ้นในบริเวณที่ทา อาจรุนแรงจนกลายเป็นฝ้าถาวรได้ กรดเรติโนอิก ต้องขึ้นทะเบียนเป็นยาเท่านั้น หากอยู่ในเครื่องสำอางจะจัดเป็นสารอันตราย เนื่องจากมีฤทธิ์ในการผลัดเซลล์ผิวหนัง ทำให้ผิวหนังเกิดการระคายเคือง ลอก แดง หรือผิวหนังบางลงได้ ได้รับความรู้เรื่องโทษ และผลข้างเคียงแล้ว ยังรู้ถึงช่องทางการร้องเรียนเมื่อมีผลกระทบของผู้บริโภคด้วยวิธีการเลือกใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ให้ผู้บริโภคเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางจากสถานที่จำหน่ายที่มีหลักแหล่งน่าเชื่อถือ และก่อนตัดสินใจซื้อควรสังเกตฉลากผลิตภัณฑ์ โดยฉลากต้องมีข้อความภาษาไทย ระบุข้อความอันจำเป็นครบถ้วน ได้แก่ ชื่อและชนิดของเครื่องสำอาง เลขที่รับแจ้ง เป็นเลขสิบหลัก สารที่ใช้เป็นส่วนผสม วิธีการใช้ ชื่อที่ตั้งผู้ผลิต/ผู้นำเข้า ปริมาณสุทธิ เลขที่แสดงครั้งที่ผลิต เดือนปีที่ผลิต และคำเตือน อย่างไรก็ตาม หากผู้บริโภคพบผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ไม่ได้มาตรฐาน หรือได้รับอันตรายจากการใช้เครื่องสำอาง ให้ร้องเรียนสายด่วน อย. โทร 1556 หรือส่งจดหมายไปที่ ตู้ปณ.1556 ปณฝ.กระทรวงสาธารณสุข จ.นนทบุรี 11004 เพื่อ อย.ได้ตรวจสอบและดำเนินการตามกฎหมายต่อไปจากการทดสอบเครื่องสำอางของการอบรม 30 ตัวอย่าง สรุปเจอสารสเตียรอยด์ 5 ตัวอย่างที่สีผลิตภัณฑ์เปลี่ยนไปจากเดิมเมื่อเทียบกับผลของชุดทดสอบ
|
0 | 0 |
2. กิจกรรมที่ 2 สำรวจข้อมูลสถานการณ์ปัญหาการใช้เครื่องสำอางค์และผลิภัณฑ์สุขภาพ |
||
วันที่ 24 กรกฎาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำสำรวจข้อมูลสถานการณ์ปัญหาการใช้เครื่องสำอางค์และผลิภัณฑ์สุขภาพ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นประชาชนได้รับข้อมูลประชาสัมพันธ์ในการเลือกซื้อเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน ร้อยละ 90
|
0 | 0 |
3. กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้โทษและผลกระทบจากการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน |
||
วันที่ 28 กรกฎาคม 2567 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ1. ประชุมคณะทำงาน 2. โครงการเพื่อขออนุมัติ 3. ติดต่อประสานงานวิทยากร และผู้เกี่ยวข้อง 4. ลงพื้นที่สำรวจข้อมูลการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ 5. อบรมให้ความรู้เรื่องโทษจากเครื่องสำอาง / ปรับทัศนคติ / ทดสอบสารสเตียรอยด์ในเครื่องสำอาง 6. สรุปผลการดำเนินงาน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.จากการจัดกิจกรรมได้ทราบถึงข้อมูลสถานการณ์ปัญหาการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน ผู้บริโภคถูกเอาเปรียบและได้รับผลกระทบจากผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีคุณภาพ อย.จึงเข้ามามีบทบาทในการสืบสวนหาสาเหตุ และได้ประกาศรายชื่อสารต้องห้ามใช้เป็นส่วนประกอบในเครื่องสำอาง ได้แก่ สารปรอท สารไฮโดรควิโนน สารสเตียรอยด์ และกรดเรติโนอิก ซึ่งสารดังกล่าวให้โทษดังนี้ สารสเตียรอยด์ พบบ่อยในเครื่องสำอาง หลังใช้ไป 2-4 สัปดาห์ จะทำให้ผิวบางลง ผิวอ่อนแอ ระคายเคืองเกิดผดผื่นหรือสิวอุดตันได้ง่าย สารปรอท ทำให้ฝ้า กระ สิวลดลง ช่วยให้ผิวขาวขึ้น หากใช้ต่อเนื่องกันเป็นเวลานานจะทำให้เกิดพิษสะสมในผิวหนัง ทำให้สีผิวคล้ำลงกลายเป็นสีดำอมเทาและดูดซึมเข้าสู่เลือด ทำให้ตับและไตอักเสบหรือทำลายระบบประสาทส่วนกลาง หากใช้ในสตรีมีครรภ์ อาจทำให้เกิดทารกพิการและปัญญาอ่อนได้ารไฮโดรควิโนน มักพบในครีมรักษาฝ้า หากใช้เกินขนาด อาจทำให้เกิดอาการแสบร้อน ตุ่มแดง และสีผิวคล้ำขึ้นในบริเวณที่ทา อาจรุนแรงจนกลายเป็นฝ้าถาวรได้กรดเรติโนอิก ต้องขึ้นทะเบียนเป็นยาเท่านั้น หากอยู่ในเครื่องสำอางจะจัดเป็นสารอันตราย เนื่องจากมีฤทธิ์ในการผลัดเซลล์ผิวหนัง ทำให้ผิวหนังเกิดการระคายเคือง ลอก แดง หรือผิวหนังบางลงได้ ได้รับความรู้เรื่องโทษ และผลข้างเคียงแล้ว ยังรู้ถึงช่องทางการร้องเรียนเมื่อมีผลกระทบของผู้บริโภคด้วยวิธีการเลือกใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ให้ผู้บริโภคเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางจากสถานที่จำหน่ายที่มีหลักแหล่งน่าเชื่อถือ และก่อนตัดสินใจซื้อควรสังเกตฉลากผลิตภัณฑ์ โดยฉลากต้องมีข้อความภาษาไทย ระบุข้อความอันจำเป็นครบถ้วน ได้แก่ ชื่อและชนิดของเครื่องสำอาง เลขที่รับแจ้ง เป็นเลขสิบหลัก สารที่ใช้เป็นส่วนผสม วิธีการใช้ ชื่อที่ตั้งผู้ผลิต/ผู้นำเข้า ปริมาณสุทธิ เลขที่แสดงครั้งที่ผลิต เดือนปีที่ผลิต และคำเตือน อย่างไรก็ตาม หากผู้บริโภคพบผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ไม่ได้มาตรฐาน หรือได้รับอันตรายจากการใช้เครื่องสำอาง ให้ร้องเรียนสายด่วน อย. โทร 1556 หรือส่งจดหมายไปที่ ตู้ปณ.1556 ปณฝ.กระทรวงสาธารณสุข จ.นนทบุรี 11004 เพื่อ อย.ได้ตรวจสอบและดำเนินการตามกฎหมายต่อไปจากการทดสอบเครื่องสำอางของการอบรม 30 ตัวอย่าง สรุปเจอสารสเตียรอยด์ 5 ตัวอย่างที่สีผลิตภัณฑ์เปลี่ยนไปจากเดิมเมื่อเทียบกับผลของชุดทดสอบ
|
0 | 0 |
4. กิจกรรมประชุมคณะทำงานครั้งที่ 2 สรุปผลการดำเนินงานโครงการถอดบทเรียนการดำเนินงานโครงการ |
||
วันที่ 31 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำสรุปผลการดำเนินงานโครงการถอดบทเรียนการดำเนินงานโครงการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ประชาชนมีความรู้ ตระหนักรู้ สามารถบอกต่อถึงโทษของเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ 2.ประชาชนเกิดสุขภาพที่ดี ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม 3.ประชาชนได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากการใช้ผลิตภัณฑ์
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อเสริมสร้างความรู้ โทษ ผลกระทบจากเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานแก่คนในชุมชน ตัวชี้วัด : ประชาชนได้รับข้อมูลประชาสัมพันธ์ในการเลือกซื้อเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน ร้อยละ 90 |
100.00 | 100.00 | 100.00 |
|
2 | 2.เพื่อให้คนในชุมชนรู้จักป้องกัน แก้ปัญหาที่เกิดจากการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ตัวชี้วัด : 2.คณะทำงานมีการติดตาม สังเกตการณ์อย่างต่อเนื่อง |
100.00 | 100.00 | 100.00 |
|
3 | 3.เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่คนในชุมชน ตัวชี้วัด : |
100.00 | 100.00 | 100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | 60 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 60 | 60 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเสริมสร้างความรู้ โทษ ผลกระทบจากเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานแก่คนในชุมชน (2) 2.เพื่อให้คนในชุมชนรู้จักป้องกัน แก้ปัญหาที่เกิดจากการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ (3) 3.เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพแก่คนในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน กิจกรรมที่ 2 สำรวจข้อมูลสถานการณ์ ปัญหาการใช้เครื่องสำอางค์และผลิตภัณฑ์สุขภาพ กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้โทษและผลกระทบจากการใช้เครื่องสำอางค์และผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน คณะทำงาสน 12 คน ตัวเเทนชุมชน 48 คน รวมจำนวน 60 คน
ผลการดำเนินงาน จากการจัดกิจกรรมได้ทราบถึงข้อมูลสถานการณ์ปัญหาการใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน ผู้บริโภคถูกเอาเปรียบและได้รับผลกระทบจากผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีคุณภาพ อย.จึงเข้ามามีบทบาทในการสืบสวนหาสาเหตุ และได้ประกาศรายชื่อสารต้องห้ามใช้เป็นส่วนประกอบในเครื่องสำอาง ได้แก่ สารปรอท สารไฮโดรควิโนน สารสเตียรอยด์ และกรดเรติโนอิก ซึ่งสารดังกล่าวให้โทษดังนี้
สารสเตียรอยด์ พบบ่อยในเครื่องสำอาง หลังใช้ไป 2-4 สัปดาห์ จะทำให้ผิวบางลง ผิวอ่อนแอ ระคายเคืองเกิดผดผื่นหรือสิวอุดตันได้ง่าย
สารปรอท ทำให้ฝ้า กระ สิวลดลง ช่วยให้ผิวขาวขึ้น หากใช้ต่อเนื่องกันเป็นเวลานานจะทำให้เกิดพิษสะสมในผิวหนัง ทำให้สีผิวคล้ำลงกลายเป็นสีดำอมเทาและดูดซึมเข้าสู่เลือด ทำให้ตับและไตอักเสบหรือทำลายระบบประสาทส่วนกลาง หากใช้ในสตรีมีครรภ์ อาจทำให้เกิดทารกพิการและปัญญาอ่อนได้
สารไฮโดรควิโนน มักพบในครีมรักษาฝ้า หากใช้เกินขนาด อาจทำให้เกิดอาการแสบร้อน ตุ่มแดง และสีผิวคล้ำขึ้นในบริเวณที่ทา อาจรุนแรงจนกลายเป็นฝ้าถาวรได้
กรดเรติโนอิก ต้องขึ้นทะเบียนเป็นยาเท่านั้น หากอยู่ในเครื่องสำอางจะจัดเป็นสารอันตราย เนื่องจากมีฤทธิ์ในการผลัดเซลล์ผิวหนัง ทำให้ผิวหนังเกิดการระคายเคือง ลอก แดง หรือผิวหนังบางลงได้
ได้รับความรู้เรื่องโทษ และผลข้างเคียงแล้ว ยังรู้ถึงช่องทางการร้องเรียนเมื่อมีผลกระทบของผู้บริโภคด้วย
วิธีการเลือกใช้เครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ให้ผู้บริโภคเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางจากสถานที่จำหน่ายที่มีหลักแหล่งน่าเชื่อถือ และก่อนตัดสินใจซื้อควรสังเกตฉลากผลิตภัณฑ์ โดยฉลากต้องมีข้อความภาษาไทย ระบุข้อความอันจำเป็นครบถ้วน ได้แก่ ชื่อและชนิดของเครื่องสำอาง เลขที่รับแจ้ง เป็นเลขสิบหลัก สารที่ใช้เป็นส่วนผสม วิธีการใช้ ชื่อที่ตั้งผู้ผลิต/ผู้นำเข้า ปริมาณสุทธิ เลขที่แสดงครั้งที่ผลิต เดือนปีที่ผลิต และคำเตือน อย่างไรก็ตาม หากผู้บริโภคพบผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางที่ไม่ได้มาตรฐาน หรือได้รับอันตรายจากการใช้เครื่องสำอาง ให้ร้องเรียนสายด่วน อย. โทร 1556 หรือส่งจดหมายไปที่ ตู้ปณ.1556 ปณฝ.กระทรวงสาธารณสุข จ.นนทบุรี 11004 เพื่อ อย.ได้ตรวจสอบและดำเนินการตามกฎหมายต่อไป
จากการทดสอบเครื่องสำอางของการอบรม 30 ตัวอย่าง สรุปเจอสารสเตียรอยด์ 5 ตัวอย่างที่สีผลิตภัณฑ์เปลี่ยนไปจากเดิมเมื่อเทียบกับผลของชุดทดสอบ
2.ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์
2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ ** บรรลุตามวัตถุประสงค์ **
2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม..........60............คน
3. การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ.............30,000...........บาท
งบประมาณเบิกจ่ายจริง......................30,000..........บาท คิดเป็นร้อยละ.........100......
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุน................-...................บาท คิดเป็นร้อยละ........................
4.ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน ** ไม่มี ****
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างความรู้เรื่องโทษจากเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567
รหัสโครงการ L8009-002-012 รหัสสัญญา /2567 ระยะเวลาโครงการ 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างความรู้เรื่องโทษจากเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567
รหัสโครงการ L8009-002-012 รหัสสัญญา /2567 ระยะเวลาโครงการ 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โครงการเสริมสร้างความรู้เรื่องโทษจากเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด
รหัสโครงการ L8009-002-012
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเทศบาลตำบลทุ่งหว้า )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......