กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านเหล่า


“ โครงการผู้สูงวัยตำบลบ้านเหล่าสุขภาพดี “ไม่ล้มไม่ลืมไม่ซึมเศร้ากินข้าวลำ” ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงวัยตำบลบ้านเหล่าสุขภาพดี “ไม่ล้มไม่ลืมไม่ซึมเศร้ากินข้าวลำ”

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 30 มิถุนายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้สูงวัยตำบลบ้านเหล่าสุขภาพดี “ไม่ล้มไม่ลืมไม่ซึมเศร้ากินข้าวลำ” จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านเหล่า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงวัยตำบลบ้านเหล่าสุขภาพดี “ไม่ล้มไม่ลืมไม่ซึมเศร้ากินข้าวลำ”



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผู้สูงวัยตำบลบ้านเหล่าสุขภาพดี “ไม่ล้มไม่ลืมไม่ซึมเศร้ากินข้าวลำ” " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 30 มิถุนายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านเหล่า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยมีแนวโน้มผู้สูงอายุที่มีอายุยืนยาวและเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ อย่างต่อเนื่อง อันสืบเนื่องมาจากพัฒนาการเทคโนโลยีทางการแพทย์และการบริการที่เจริญก้าวหน้าพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปโดยคนส่วนใหญ่หันมาให้ความสนใจและเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายมากขึ้น รวมทั้งการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนรู้จักวิธีการดูแลสุขภาพ โดยการออกกำลังกายสม่ำเสมอ จากแนวโน้มของผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้น นำมาซึ่งภาวะเสี่ยงและปัญหาด้านสุขภาพโดยเฉพาะอย่างยิ่งการเจ็บป่วยเรื้อรังจากข้อมูลสุขภาพของผู้สูงอายุ พบว่า ผู้สูงอายุมีอุบัติการณ์การเกิดโรคมากกว่าวัยอื่นๆนอกจากนี้ยังพบว่าผู้สูงอายุที่มีอายุ เกิน 65 ปี ประมาณ 4 ใน 5 คนจะมีโรคประจำตัวอย่างน้อย 1 โรค สำหรับผู้พิการจะมีปัญหาทั้งด้านร่างกาย เกี่ยวกับ การเคลื่อนไหว ส่วนปัญหาทางด้านจิตใจผู้สูงอายุ และผู้พิการ ส่วนใหญ่จะมีปัญหาที่สำคัญคือ ภาวะซึมเศร้าที่เกิดจากการสูญเสียบุคคลใกล้ชิด รวมทั้งการขาดรายได้ การเปลี่ยนแปลงบทบาทหน้าที่ในสังคม การช่วยเหลือตนเองได้น้อย ต้องอาศัยบุตรหลานคอยดูแล การถูกทอดทิ้งให้อยู่ตามลำพังจากสถิติข้อมูลผู้สูงอายุและผู้พิการในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเหล่ามี ผู้สูงอายุ จำนวน1,402คนมีผู้พิการจำนวน448คน เป็นผู้ป่วยที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ติดบ้าน ติดเตียง65 คนซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขที่ต้องดำเนินการส่งเสริมสุขภาพทั้งด้านร่างกายและจิตใจ โดยการมีส่วนร่วมในการดูแลเอาใจใส่ของครอบครัวและอาสาสมัครใน ชุมชนเป็นบทบาทภารกิจที่สำคัญที่จะทำให้ผู้สูงอายุดำรงชีพอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลบ้านเหล่า ได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำ โครงการผู้สูงวัยตำบลบ้านเหล่าสุขภาพดี ไม่ล้มไม่ลืมไม่ซึมเศร้ากินข้าวลำโดยมีกรอบแนวคิดไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย ดังนี้ Smart Walk หรือ ไม่ล้ม โดยออกกำลังกายสม่ำเสมอเพื่อร่างกายที่แข็งแรง ไม่หกล้ม โดยให้ผู้สูงอายุออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 วัน วันละ 30 นาทีSmart BrainEmotional หรือไม่ลืม ดูแลฝึกทักษะทางสมอง ส่งเสริมสุขภาพจิตและอารมณ์ โดยการเข้าร่วมกิจกรรมในชมรมผู้สูงอายุ โรงเรียนผู้สูงอายุ รณรงค์และส่งเสริมพฤติกรรมการไม่สูบบุหรี่Smart Sleep หรือไม่ซึมเศร้า คือ นอนหลับอย่างเพียงพออย่างน้อยวันละ 7 - 8 ชั่วโมงSmart Eatหรือกินข้าวอร่อย คือ กินอาหารตามหลักโภชนาการ ครบ 5 หมู่ ลดหวาน มัน เค็ม เน้นผัก ผลไม้ เลือกอาหารที่มีโปรตีนคุณภาพสูง เช่น ปลาทะเล ซึ่งมีกรดโอเมก้า 3 สูง ช่วยบำรุงประสาท สายตา และสมอง ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากที่ดี เพื่อความสามารถในการบดเคี้ยวอาหาร มีฟันใช้งานได้อย่างน้อย 20 ซี่ 4 คู่สบ ตลอดจนการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ ความรอบรู้สำหรับประชาชน ผ่านแอปพลิเคชัน สูงวัย สมองดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุ และผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้แก่ผู้อื่นได้
  2. ผู้สูงอายุ และผู้ดูแล ได้มีกิจกรรมกลุ่มกันอย่างน้อย 1 ครั้ง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน
  2. จัดอบรมโครงการ
  3. สรุปผลการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 55
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้สูงอายุที่ผ่านการอบรม มีพฤติกรรมการออกกำลังกายที่เพิ่มขึ้น โดยออกกำลังกายอย่างน้อย สัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละ 20 นาที และมีการรวมตัวผู้สูงอายุอย่างน้อย 1 ครั้งต่อเดือน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุ และผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้แก่ผู้อื่นได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง
60.87 63.87

 

2 ผู้สูงอายุ และผู้ดูแล ได้มีกิจกรรมกลุ่มกันอย่างน้อย 1 ครั้ง
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ และผู้ดูแล ได้มีกิจกรรมกลุ่มกันอย่างน้อย 1 ครั้ง ต่อเดือน
60.87 63.87

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 55
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 55
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุ และผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของตนเอง ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้แก่ผู้อื่นได้ (2) ผู้สูงอายุ และผู้ดูแล ได้มีกิจกรรมกลุ่มกันอย่างน้อย 1 ครั้ง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) จัดอบรมโครงการ (3) สรุปผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผู้สูงวัยตำบลบ้านเหล่าสุขภาพดี “ไม่ล้มไม่ลืมไม่ซึมเศร้ากินข้าวลำ” จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด