โครงการส่งเสริม 5 ส. สู่หมู่บ้านสะอาดปลอดภัย ชุมชนร่วมใจเฝ้าระวังภัยโรคติดต่อ โรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำปี 2567
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริม 5 ส. สู่หมู่บ้านสะอาดปลอดภัย ชุมชนร่วมใจเฝ้าระวังภัยโรคติดต่อ โรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำปี 2567 |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | |
วันที่อนุมัติ | 1 กุมภาพันธ์ 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กุมภาพันธ์ 2567 - 30 กันยายน 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 28,550.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 80 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 10 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 10 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง : |
||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาระบบปฏิบัติการเคลื่อนที่เร็วในการเตรียมความพร้อมที่เกิดจากโรคติดต่อและภัยสุขภาพได้ | 80.00 | ||
2 | ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ | 97.84 | ||
3 | ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า | 89.20 | ||
4 | ร้อยละของครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) เช่น นำเศษผ้ามาทำถุงผ้า ผ้าเช็ดเท้า | 55.86 | ||
5 | ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ | 30.37 | ||
6 | ปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน | 4,730.00 | ||
7 | ร้อยละของคนในชุมชนที่มีความรู้ สามารถปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม | 76.00 | ||
8 | ร้อยละของอาสาสมัครและจิตอาสาที่มีขีดความสามารถในการรับมือโรคอุบัติใหม่ต่อประชากรทั้งหมด | 5.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อพัฒนาระบบปฏิบัติการเคลื่อนที่เร็วในการเตรียมความพร้อมที่เกิดจากโรคติดต่อและภัยสุขภาพได้ พัฒนาระบบปฏิบัติการเคลื่อนที่เร็วในการเตรียมความพร้อมที่เกิดจากโรคติดต่อและภัยสุขภาพได้ |
80.00 | |
2 | เพื่อให้ประชาชนได้รับการป้องกัน เฝ้าระวังดูแลสุขภาพจากปัจจัยเสี่ยงด้านโรคติดต่อ ประชาชนได้รับการป้องกัน เฝ้าระวังดูแลสุขภาพจากปัจจัยเสี่ยงด้านโรคติดต่อ |
98.00 | |
3 | เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมหมู่บ้านจัดการสิ่งแวดล้อมและแยกประเภทขยะได้อย่างถูกต้อง ชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมหมู่บ้านจัดการสิ่งแวดล้อมและแยกประเภทขยะได้อย่างถูกต้อง |
80.00 | |
4 | เพื่อพัฒนาแกนนำและสถานบริการสาธารณสุขด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ 5 ส. พัฒนาแกนนำและสถานบริการสาธารณสุขด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ 5 ส. |
75.00 | |
5 | เพื่อเพิ่มจำนวนคนในชุมชนที่สามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ได้ ร้อยละของคนในชุมชนที่มีความรู้ สามารถปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม |
76.00 | 90.00 |
6 | เพื่อเพิ่มอาสาสมัครและจิตอาสาที่มีขีดความสามารถในการรับมือโรคอุบัติใหม่ ร้อยละของอาสาสมัครและจิตอาสาที่มีขีดความสามารถในการรับมือโรคอุบัติใหม่ต่อประชากรทั้งหมด |
5.00 | 30.00 |
7 | เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน ปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน |
4730.00 | 3500.00 |
8 | เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ |
97.84 | 99.00 |
9 | เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า |
89.20 | 95.00 |
10 | เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ |
30.37 | 50.00 |
11 | เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) ร้อยละของครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) เช่น นำเศษผ้ามาทำถุงผ้า ผ้าเช็ดเท้า |
55.86 | 70.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 28,550.00 | 0 | 0.00 | |
1 ก.พ. 67 - 30 ก.ย. 67 | กิจกรรมที่ 1 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาความรู้หลักเกณฑ์ 5 ส. และเฝ้าระวังโรคติดต่อ โดยแกนนำ อสม.ในการติดตามถ่ายทอดความรู้ สู่ชุมชนเพื่อปรับปรุงสิ่งแวดล้อมให้สะอาดน่าอยู่ | 0 | 7,600.00 | - | ||
1 ก.พ. 67 - 30 ก.ย. 67 | กิจกรรมที่ 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการทีมเคลื่อนที่เร็ว ในการเตรียมความพร้อมพัฒนาองค์ความรู้ในการเฝ้าระวังโรคติดต่อต่างๆ โรคอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ ประกอบด้วยภาคีเครือข่าย ผู้นำหมู่บ้าน แกนนำอสม. กรรมการหมู่บ้านและ สอ.บต. | 0 | 7,600.00 | - | ||
1 ก.พ. 67 - 30 ก.ย. 67 | กิจกรรมที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการในการเฝ้าระวังและป้องกันโรควัณโรคของชุมชนร่องกาศ ในกลุ่มเป้าหมายที่เสี่ยงต่อการป่วย ประกอบด้วยผู้ป่วยเบาหวาน ผู้สูงอายุ ผู้สัมผัสร่วมบ้าน | 0 | 7,150.00 | - | ||
1 ก.พ. 67 - 30 ก.ย. 67 | กิจกรรมที่ 4 ประชุมเชิงปฏิบัติการผู้นำชุมชน คณะกรรมการหมู่บ้าน แกนนำ อสม. ภาคีเครือข่ายอื่น ในการส่งเสริมความตระหนักรู้ในการส่งเสริมหมู่บ้านจัดการสิ่งแวดล้อมและแยกประเภทขยะ ได้อย่างถูกต้อง จำนวน 6 หมู่บ้าน | 0 | 6,200.00 | - |
-ปริมาณขยะในชุมชนลดลง -ประชาชนได้รับการป้องกัน เฝ้าระวังดูแลสุขภาพจากปัจจัยเสี่ยงด้านโรคติดต่อ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 พ.ค. 2567 12:23 น.