กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการส่งเสริม 5 ส. สู่หมู่บ้านสะอาดปลอดภัย ชุมชนร่วมใจเฝ้าระวังภัยโรคติดต่อ โรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำปี 2567

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ร่องกาศ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริม 5 ส. สู่หมู่บ้านสะอาดปลอดภัย ชุมชนร่วมใจเฝ้าระวังภัยโรคติดต่อ โรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำปี 2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ร่องกาศ

อบต.ร่องกาศ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานขยะ , แผนงานปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 เพื่อพัฒนาระบบปฏิบัติการเคลื่อนที่เร็วในการเตรียมความพร้อมที่เกิดจากโรคติดต่อและภัยสุขภาพได้

 

80.00
2 ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ

 

97.84
3 ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า

 

89.20
4 ร้อยละของครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) เช่น นำเศษผ้ามาทำถุงผ้า ผ้าเช็ดเท้า

 

55.86
5 ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ

 

30.37
6 ปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน

 

4,730.00
7 ร้อยละของคนในชุมชนที่มีความรู้ สามารถปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม

 

76.00
8 ร้อยละของอาสาสมัครและจิตอาสาที่มีขีดความสามารถในการรับมือโรคอุบัติใหม่ต่อประชากรทั้งหมด

 

5.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาระบบปฏิบัติการเคลื่อนที่เร็วในการเตรียมความพร้อมที่เกิดจากโรคติดต่อและภัยสุขภาพได้

พัฒนาระบบปฏิบัติการเคลื่อนที่เร็วในการเตรียมความพร้อมที่เกิดจากโรคติดต่อและภัยสุขภาพได้

80.00
2 เพื่อให้ประชาชนได้รับการป้องกัน เฝ้าระวังดูแลสุขภาพจากปัจจัยเสี่ยงด้านโรคติดต่อ

ประชาชนได้รับการป้องกัน เฝ้าระวังดูแลสุขภาพจากปัจจัยเสี่ยงด้านโรคติดต่อ

98.00
3 เพื่อให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมหมู่บ้านจัดการสิ่งแวดล้อมและแยกประเภทขยะได้อย่างถูกต้อง

ชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมหมู่บ้านจัดการสิ่งแวดล้อมและแยกประเภทขยะได้อย่างถูกต้อง

80.00
4 เพื่อพัฒนาแกนนำและสถานบริการสาธารณสุขด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ 5 ส.

พัฒนาแกนนำและสถานบริการสาธารณสุขด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ 5 ส.

75.00
5 เพื่อเพิ่มจำนวนคนในชุมชนที่สามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ได้

ร้อยละของคนในชุมชนที่มีความรู้ สามารถปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม

76.00 90.00
6 เพื่อเพิ่มอาสาสมัครและจิตอาสาที่มีขีดความสามารถในการรับมือโรคอุบัติใหม่

ร้อยละของอาสาสมัครและจิตอาสาที่มีขีดความสามารถในการรับมือโรคอุบัติใหม่ต่อประชากรทั้งหมด

5.00 30.00
7 เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน

ปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน

4730.00 3500.00
8 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ

ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ

97.84 99.00
9 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse)

ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่าที่สุดก่อนทิ้ง (reuse) เช่น การใช้ถุงพลาสติกซ้ำ ใช้ขวดน้ำซ้ำ ใช้กระดาษสองหน้า

89.20 95.00
10 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ

ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ

30.37 50.00
11 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle)

ร้อยละของครัวเรือนที่นำวัสดุใช้แล้วมาแปรรูปใช้ใหม่ (recycle) เช่น นำเศษผ้ามาทำถุงผ้า ผ้าเช็ดเท้า

55.86 70.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ 10
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 10
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 1 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาความรู้หลักเกณฑ์ 5 ส. และเฝ้าระวังโรคติดต่อ โดยแกนนำ อสม.ในการติดตามถ่ายทอดความรู้ สู่ชุมชนเพื่อปรับปรุงสิ่งแวดล้อมให้สะอาดน่าอยู่

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาความรู้หลักเกณฑ์ 5 ส. และเฝ้าระวังโรคติดต่อ โดยแกนนำ อสม.ในการติดตามถ่ายทอดความรู้ สู่ชุมชนเพื่อปรับปรุงสิ่งแวดล้อมให้สะอาดน่าอยู่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

งบประมาณ  7,600 บาท - ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วม 80 คนๆละ 1 มื้อๆละ 70 บาท        เป็นเงิน 5,600 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วม 80 คนๆละ 1 มื้อๆละ 25 บาท  เป็นเงิน 2,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

10.1 สถานบริการสาธารณสุขสามารถนำหลักเกณฑ์ 5 ส. มาพัฒนาสิ่งแวดล้อมได้ถูกต้อง 10.2 แกนนำ อสม. สามารถถ่ายทอดความรู้และให้คำแนะนำการควบคุมป้องกันโรคติดต่อได้ 10.3 ระบบปฏิบัติการเคลื่อนที่เร็วมีการเตรียมความพร้อม เพื่อรองรับสำหรับสถานการณ์การเกิดโรคติดต่อและภัยสุขภาพได้จริง 10.4 ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจการป้องกัน เฝ้าระวังดูแลสุขภาพจากปัจจัยเสี่ยงด้านโรคติดต่อ 10.5 ประชาชนในพื้นที่ป่วย/ตาย ลดลงจากโรคติดต่อ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7600.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการทีมเคลื่อนที่เร็ว ในการเตรียมความพร้อมพัฒนาองค์ความรู้ในการเฝ้าระวังโรคติดต่อต่างๆ โรคอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ ประกอบด้วยภาคีเครือข่าย ผู้นำหมู่บ้าน แกนนำอสม. กรรมการหมู่บ้านและ สอ.บต.

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการทีมเคลื่อนที่เร็ว ในการเตรียมความพร้อมพัฒนาองค์ความรู้ในการเฝ้าระวังโรคติดต่อต่างๆ โรคอุบัติใหม่และอุบัติซ้ำ ประกอบด้วยภาคีเครือข่าย ผู้นำหมู่บ้าน แกนนำอสม. กรรมการหมู่บ้านและ สอ.บต.
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

งบประมาณ  7,600 บาท - ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วม 50 คนๆละ 1 มื้อๆละ 70 บาท        เป็นเงิน 3,500 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วม 50 คนๆละ 1 มื้อๆละ 25 บาท  เป็นเงิน 1,250 บาท - ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน จำนวน 4 ชม.ๆ ละ 600 บาท                     เป็นเงิน  2,400 บาท - ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ 1 ผืน ขนาด 1 x 3 เมตรๆละ 150 บาท                                              เป็นเงิน    450 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

10.1 สถานบริการสาธารณสุขสามารถนำหลักเกณฑ์ 5 ส. มาพัฒนาสิ่งแวดล้อมได้ถูกต้อง 10.2 แกนนำ อสม. สามารถถ่ายทอดความรู้และให้คำแนะนำการควบคุมป้องกันโรคติดต่อได้ 10.3 ระบบปฏิบัติการเคลื่อนที่เร็วมีการเตรียมความพร้อม เพื่อรองรับสำหรับสถานการณ์การเกิดโรคติดต่อและภัยสุขภาพได้จริง 10.4 ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจการป้องกัน เฝ้าระวังดูแลสุขภาพจากปัจจัยเสี่ยงด้านโรคติดต่อ 10.5 ประชาชนในพื้นที่ป่วย/ตาย ลดลงจากโรคติดต่อ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7600.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการในการเฝ้าระวังและป้องกันโรควัณโรคของชุมชนร่องกาศ ในกลุ่มเป้าหมายที่เสี่ยงต่อการป่วย ประกอบด้วยผู้ป่วยเบาหวาน ผู้สูงอายุ ผู้สัมผัสร่วมบ้าน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 3 ประชุมเชิงปฏิบัติการในการเฝ้าระวังและป้องกันโรควัณโรคของชุมชนร่องกาศ ในกลุ่มเป้าหมายที่เสี่ยงต่อการป่วย ประกอบด้วยผู้ป่วยเบาหวาน ผู้สูงอายุ ผู้สัมผัสร่วมบ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

งบประมาณ 7,150 บาท - ค่าอาหารกลางวัน ผู้เข้าร่วม 50 คนๆละ 1 มื้อๆละ 70 บาท        เป็นเงิน 3,500 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วม 50 คนๆละ 1 มื้อๆละ 25 บาท  เป็นเงิน 1,250 บาท
- ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน จำนวน 4 ชม.ๆ ละ 600 บาท              เป็นเงิน 2,400 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

10.1 สถานบริการสาธารณสุขสามารถนำหลักเกณฑ์ 5 ส. มาพัฒนาสิ่งแวดล้อมได้ถูกต้อง 10.2 แกนนำ อสม. สามารถถ่ายทอดความรู้และให้คำแนะนำการควบคุมป้องกันโรคติดต่อได้ 10.3 ระบบปฏิบัติการเคลื่อนที่เร็วมีการเตรียมความพร้อม เพื่อรองรับสำหรับสถานการณ์การเกิดโรคติดต่อและภัยสุขภาพได้จริง 10.4 ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจการป้องกัน เฝ้าระวังดูแลสุขภาพจากปัจจัยเสี่ยงด้านโรคติดต่อ 10.5 ประชาชนในพื้นที่ป่วย/ตาย ลดลงจากโรคติดต่อ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7150.00

กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมที่ 4 ประชุมเชิงปฏิบัติการผู้นำชุมชน คณะกรรมการหมู่บ้าน แกนนำ อสม. ภาคีเครือข่ายอื่น ในการส่งเสริมความตระหนักรู้ในการส่งเสริมหมู่บ้านจัดการสิ่งแวดล้อมและแยกประเภทขยะ ได้อย่างถูกต้อง จำนวน 6 หมู่บ้าน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมที่ 4 ประชุมเชิงปฏิบัติการผู้นำชุมชน คณะกรรมการหมู่บ้าน แกนนำ อสม. ภาคีเครือข่ายอื่น ในการส่งเสริมความตระหนักรู้ในการส่งเสริมหมู่บ้านจัดการสิ่งแวดล้อมและแยกประเภทขยะ ได้อย่างถูกต้อง จำนวน 6 หมู่บ้าน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

งบประมาณ 6,200 บาท - ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าร่วม 40 คนๆละ 1 มื้อๆละ 70 บาท           เป็นเงิน  2,800 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 40 คนๆละ 1 มื้อๆละ 25 บาท                เป็นเงิน  1,000 บาท - ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน จำนวน 4 ชม.ๆ ละ 600 บาท                    เป็นเงิน  2,400 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

10.1 สถานบริการสาธารณสุขสามารถนำหลักเกณฑ์ 5 ส. มาพัฒนาสิ่งแวดล้อมได้ถูกต้อง 10.2 แกนนำ อสม. สามารถถ่ายทอดความรู้และให้คำแนะนำการควบคุมป้องกันโรคติดต่อได้ 10.3 ระบบปฏิบัติการเคลื่อนที่เร็วมีการเตรียมความพร้อม เพื่อรองรับสำหรับสถานการณ์การเกิดโรคติดต่อและภัยสุขภาพได้จริง 10.4 ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจการป้องกัน เฝ้าระวังดูแลสุขภาพจากปัจจัยเสี่ยงด้านโรคติดต่อ 10.5 ประชาชนในพื้นที่ป่วย/ตาย ลดลงจากโรคติดต่อ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6200.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 28,550.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

-ปริมาณขยะในชุมชนลดลง
-ประชาชนได้รับการป้องกัน เฝ้าระวังดูแลสุขภาพจากปัจจัยเสี่ยงด้านโรคติดต่อ


>