กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก


“ โครงการธนาคารสร้างสุขชุมชน สนับสนุนอุปกรณ์ให้ยืมใช้เพื่อฟื้นฟูสุขภาพที่บ้าน ”



หัวหน้าโครงการ
นายนัฏศาสตร์ เลาะแม

ชื่อโครงการ โครงการธนาคารสร้างสุขชุมชน สนับสนุนอุปกรณ์ให้ยืมใช้เพื่อฟื้นฟูสุขภาพที่บ้าน

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 33

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการธนาคารสร้างสุขชุมชน สนับสนุนอุปกรณ์ให้ยืมใช้เพื่อฟื้นฟูสุขภาพที่บ้าน จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการธนาคารสร้างสุขชุมชน สนับสนุนอุปกรณ์ให้ยืมใช้เพื่อฟื้นฟูสุขภาพที่บ้าน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการธนาคารสร้างสุขชุมชน สนับสนุนอุปกรณ์ให้ยืมใช้เพื่อฟื้นฟูสุขภาพที่บ้าน " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 105,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเรื้อรังเป็นโรคไม่ติดต่อที่เป็นปัญหาสุขภาพ อันดับหนึ่งของโลก ทั้งในมิติของจำนวนผู้เสียชีวิตและภาระโรคโดยรวม จากรายงานขององค์การอนามัยโลกพบว่า ประชากรทั่วโลกร้อยละ 71 เสียชีวิตจากโรคเรื้อรัง สำหรับ ประเทศไทยพบว่าแนวโน้มการเจ็บป่วยของประชากรด้วย โรคเรื้อรังและโรคหลอดเลือดสมองเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไปซึ่งผู้สูงอายุ เป็นกลุ่มวัยที่มีการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังมากกว่าประชากร กลุ่มอื่นและจำนวนโรคเรื้อรังที่เป็นจะเพิ่มมากขึ้นตามอายุเมื่อมีการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังต่างๆ มีโอกาสจะเกิดภาวะแทรกซ้อน ทำให้ทุพลภาพ มีความพิการ มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว และหากไม่ได้รับการดูแล หรือการฟื้นฟูสภาพที่ถูกต้อง ส่งผลให้เสียชีวิตในที่สุด สถานการณ์ผู้สูงอายุป่วยติดเตียงของประเทศไทย จากการสำรวจในปี พ.ศ.2565 พบมีผู้สูงอายุป่วยติดเตียงจำนวน 255,327 คน การดูแลผู้ป่วยติดเตียงระยะยาวส่งผลต่อผู้ดูแล และครอบครัวเป็นอย่างมากเพราะผู้ป่วยติดเตียงไม่สามารถ ช่วยเหลือตัวเองได้จำเป็นต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด ทั้งด้านการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลและการดูแลรักษา ซึ่งรัฐบาลได้กำหนดนโยบายการดูแลผู้สูงอายุป่วยติดเตียง ในระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) โดย ให้ครอบครัว ชุมชน และหน่วยงานระดับท้องถิ่นเข้ามา มีส่วนร่วม ทั้งนี้ก็ยังพบปัญหาบางส่วน เนื่องจากกลุ่มผู้ป่วยเหล่านี้ต้องใช้อุปกรณ์ที่จำเป็นในการฟื้นฟูสภาพร่างกายให้เหมาะสมเช่น เบาะลม รถเข็นไม้เท้าต่างๆ เตียงแคร่ เป็นต้น ในตำบลสะเตงนอก มีจำนวนผู้ป่วยทีมีปัญหาทางการเคลื่อนไหว ติดบ้าน ติดเตียง ประมาณ 130 คน ซึ่งเป็นกลุ่มผู้ป่วยที่ยังมารับการรักษาที่ศูนย์บริการเวชกรรมฟื้นฟูเทศบาลเมืองสะเตงนอก โดยผู้ป่วยบางคนยังขาดแคลนอุปกรณ์ในการช่วยเหลือตัวเอง และมีฐานะยากจน ต้องยืมใช้จากผู้อื่น และสถิติผู้ป่วยรายใหม่ที่จำหน่ายออกจากรพ.ยะลา มีจำนวนเฉลี่ยอย่างน้อย 5 ราย/เดือน และจากผลการสำรวจความต้องการอุปกรณ์ในผู้ป่วยที่มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว ยังมีผู้ป่วยอีก 30 รายต้องการอุปกรณ์ช่วยฟื้นฟูสุขภาพที่บ้าน ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้พิการ เป็นศูนย์ที่ตั้งขึ้นเพื่อการดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ ให้สามารถมีคุณภาพชีวิตในสังคมได้ปกติ จึงเห็นความสำคัญของปัญหาการขาดแคลนอุปกรณ์ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว ผู้พิการ โดยส่วนใหญ่จะเป็นผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการธนาคารสร้างสุขชุมชน สนับสนุนอุปกรณ์ให้ยืมใช้เพื่อฟื้นฟูสุขภาพที่บ้าน เพื่อบรรเทาทุกข์ของประชาชนที่มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว สามารถมีอุปกรณ์ที่จำเป็นในการฟื้นฟูสุขภาพร่างกายที่บ้าน จนกว่าสุขภาพจะดีขึ้น หรือแม้จะเป็นการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของชีวิตให้ไม่ต้องทนทุกข์ ทรมานกับการเจ็บป่วยเรื้อรังอย่างอนาถาเกินไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ที่มีปัญหาด้านการเคลื่อนไหว ที่ขาดแคลนอุปกรณ์ฟื้นฟูที่จำเป็น ได้ใช้อุปกรณ์ช่วยฟื้นฟูสุขภาพที่บ้าน
  2. 2.เพื่อให้ผู้ป่วยมีปัญหาด้านการเคลื่อนไหว มีคุณภาพชีวิตที่ดี ลดความพิการ และลดภาวะพึ่งพิงได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ลงเยี่ยมบ้านผู้ป่วยที่มีปัญหาทางการเคลื่อนไหวและผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้
  2. จัดซื้ออุปกรณ์ฟื้นฟูสุขภาพที่บ้าน ให้ผู้ป่วยที่มีปัญหาทางการเคลื่อนไหวยืมใช้ เพื่อฟื้นฟูสุขภาพตนเองที่บ้าน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 30
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ป่วยที่มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว และผู้ป่วยโรคเรื้อรังทีไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ มีอุปกรณ์ฟื้นฟูสุขภาพตนเองที่จำเป็น และสามารถฟื้นฟูสภาพร่างกายให้ดีขึ้นได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ที่มีปัญหาด้านการเคลื่อนไหว ที่ขาดแคลนอุปกรณ์ฟื้นฟูที่จำเป็น ได้ใช้อุปกรณ์ช่วยฟื้นฟูสุขภาพที่บ้าน
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 60 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ที่มีปัญหาด้านการเคลื่อนไหวที่ขาดแคลนอุปกรณ์ฟื้นฟูที่จำเป็น มีอุปกรณ์ช่วยฟื้นฟูสุขภาพที่บ้าน
0.00

 

2 2.เพื่อให้ผู้ป่วยมีปัญหาด้านการเคลื่อนไหว มีคุณภาพชีวิตที่ดี ลดความพิการ และลดภาวะพึ่งพิงได้
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 60 ของผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ฟื้นฟูสุขภาพอย่างต่อเนื่อง มีคะแนนความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวันเพิ่มขึ้น (Barthel ADL index)
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 30
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ที่มีปัญหาด้านการเคลื่อนไหว ที่ขาดแคลนอุปกรณ์ฟื้นฟูที่จำเป็น ได้ใช้อุปกรณ์ช่วยฟื้นฟูสุขภาพที่บ้าน (2) 2.เพื่อให้ผู้ป่วยมีปัญหาด้านการเคลื่อนไหว มีคุณภาพชีวิตที่ดี ลดความพิการ และลดภาวะพึ่งพิงได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ลงเยี่ยมบ้านผู้ป่วยที่มีปัญหาทางการเคลื่อนไหวและผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ (2) จัดซื้ออุปกรณ์ฟื้นฟูสุขภาพที่บ้าน ให้ผู้ป่วยที่มีปัญหาทางการเคลื่อนไหวยืมใช้ เพื่อฟื้นฟูสุขภาพตนเองที่บ้าน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการธนาคารสร้างสุขชุมชน สนับสนุนอุปกรณ์ให้ยืมใช้เพื่อฟื้นฟูสุขภาพที่บ้าน จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายนัฏศาสตร์ เลาะแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด