กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังมะปรางเหนือ


“ โครงการเฝ้าระวังควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคฉี่หนู (Leptospirosis)ในชุมชนอย่างเร่งด่วน ประจำปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลวังวิเศษ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคฉี่หนู (Leptospirosis)ในชุมชนอย่างเร่งด่วน ประจำปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1519-5-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 ธันวาคม 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคฉี่หนู (Leptospirosis)ในชุมชนอย่างเร่งด่วน ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังมะปรางเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคฉี่หนู (Leptospirosis)ในชุมชนอย่างเร่งด่วน ประจำปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคฉี่หนู (Leptospirosis)ในชุมชนอย่างเร่งด่วน ประจำปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวังมะปรางเหนือ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1519-5-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 ธันวาคม 2560 - 31 ธันวาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,170.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วังมะปรางเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) จากสถานการณ์อุทกภัย ภัยพิบัติในพื้นที่ปัจจุบัน ประชาชนมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคติดต่อสูง ซึ่งพื้นที่อำเภอ วังวิเศษเป็นพื้นที่ราบลุ่มพื้นที่เกษตรกรรมด้านการปลูกยางพาราและปาล์มน้ำมัน อีกทั้งยังมีบริเวณที่มีน้ำท่วมขัง เป็นเวลานานทั้งในสวนยางพาราและปาล์มน้ำมันและบริเวณที่อยาอาศัยประกอบกับภาคใต้มีฤดูฝนติดต่อกันเป็นเวลานานซึ่งในปี 2560 มีฝนตกติดต่อกันเป็นเวลานาน ทำให้ประชาชนขาดรายได้ ไม่สามารถไปทำงานตามปกติได้ ประชาชนที่ทำสวนก็มีปัญหาน้ำท่วมที่ทำกิน จึงส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในพื้นที่เป็นอย่างมาก ซึ่งโรคเลปโตสไปโรซิส (Leptospirosis) หรือโรคฉี่หนู มักจะมาช่วงฤดูฝน ประชาชนที่มีความเสี่ยงต่อการเดินย่ำโคลนหรือพื้นที่ที่มีน้ำขังด้วยเท้าเปล่า ฝนที่ตกหนักติดต่อกันเป็นช่วงๆ ทำให้เกิดภาวะน้ำท่วมขังในพื้นที่ต่างๆ เป็นสาเหตุของการเกิดโรคเลปโตสไปโรซิส (Leptospirosis) หรือ "โรคฉี่หนู" ซึ่งเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียชื่อว่า เชื้อเลปโตสไปร่า (Leptospirosis) เข้าสู่ร่างกายทางบาดแผล รอยขีดข่วน รอยถลอกตามผิวหนัง เยื่อบุตา จมูก ปาก หรือไชเข้าผิวหนังที่แช่น้ำเป็นเวลานาน พบมากในพื้นที่ ที่มีการปลูกยางพาราและปาล์มน้ำมันเนื่องจากต้องเดินย่ำน้ำหรือพื้นดินที่ชื้นแฉะ อาการของโรคคือมีไข้สูงทันทีทันใด ปวดศีรษะ ปวดเจ็บกล้ามเนื้อที่โคนขาและน่องอย่างมาก คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน ตาแดง บางรายอาจมีจุดเลือดออกตามผิวหนัง ไอมีเลือดปนหรือตัวเหลืองตาเหลือง เนื่องจากเยื้อหุ้มสมองอักเสบ กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ ตับวาย ไตวาย และเสียชีวิตได้ นับตั้งแต่วันที่1 มกราคม 2560 ถึงวันที่11 ธันวาคม 2560 จังหวัดตรังได้รับรายงานผู้ป่วยโรคLeptospirosisจำนวนทั้งสิ้น 138 ราย คิดเป็นอัตราป่วย21.60ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้เสียชีวิต 4 ราย อัตราตายต่อประชากรแสนคน เท่ากับ0.63อัตราผู้ป่วยตายเท่ากับร้อยละ2.90อำเภอที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด คือ อำเภอวังวิเศษ พบผู้ป่วยจำนวน 18 ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 41.57ต่อประชากรแสนคนเมื่อแยกรายตำบลพบว่าตำบลอ่าวตงพบผู้ป่วยสูงที่สุดถึง 7 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 65.24 ต่อแสนประชากรรองลงมา คือตำบลท่าสะบ้า จำนวน 3 ราย อัตราป่วย 55.27 ต่อแสนประชากรและตำบลวังมะปราง 2 ราย อัตราป่วย 52.92 ต่อแสนประชากรตำบลวังมะปรางเหนือ 3 ราย อัตราป่วย 33.39 ต่อแสนประชากรตำบลเขาวิเศษ 2 ราย อัตราป่วย 16.01 ต่อแสนประชากรโรงพยาบาลวังวิเศษมีความห่วงใยสุขภาพประชาชนและตระหนักถึงโรคภัยที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชาชนในพื้นที่เป็นอย่างมาก จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคฉี่หนู (Leptospirosis)ในชุมชนอย่างเร่งด่วนแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองจากโรคฉี่หนูในช่วงฤดูฝนและช่วงน้ำท่วม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อลดอัตราการป่วยและเสียชีวิต จากโรคเลปโตสไปโรซีสในเขตตำบลวังมะปรางเหนือ
  2. เพื่อให้ความรู้ประชาชนเรื่องโรคเลปโตสไปโรซีสและการป้องกันตนเองจากโรคดังกล่าว
  3. เพื่อให้ อสม./อบต./กรรมการ/ผู้นำชุมชนและประชาชนทั่วไปปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในหมู่บ้าน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 114
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ประชาชนมีความรู้เรื่องโรคเลปโตสไปโรซีสและสามารถป้องกันตนเองจากโรคเลปโตสไปโรซีส (Leptospirosis) หรือโรคฉี่หนู และกำจัดพาหะนำโรคได้ด้วยตัวเอง 2. สามารถลดอัตราการป่วยและเสียชีวิต จากโรคเลปโตสไปโรซีสในเขตพื้นที่โรงพยาบาลวังวิเศษ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1 เพื่อลดอัตราการป่วยและเสียชีวิต จากโรคเลปโตสไปโรซีสในเขตตำบลวังมะปรางเหนือ
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ80ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาเร็วลดการตาย 2.ร้อยละ 80 ผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรซีสไม่เสียชีวิต 3.ร้อยละ100 ผู้ป่วยสงสัยโรคเลปโตสไปโรซีสรับยาปฏิชีวนะเร็วภายใน 5 วัน ลดความรุนแรงของโรค

     

    2 เพื่อให้ความรู้ประชาชนเรื่องโรคเลปโตสไปโรซีสและการป้องกันตนเองจากโรคดังกล่าว
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของประชาชนมีความรู้เรื่องโรคเลปโตสไปโรซีสและการป้องกันตนเอง 2.ร้อยละ 80 ของประชาชนนำความรู้ที่ได้สามารถป้องกันตนเองลดการติดเชื้อ

     

    3 เพื่อให้ อสม./อบต./กรรมการ/ผู้นำชุมชนและประชาชนทั่วไปปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในหมู่บ้าน
    ตัวชี้วัด : 1ร้อยละ 90 อสม./อบต./กรรม จัดกิจกรรมจัดการสิ่งแวดล้อมในหมู่บ้านลดแหล่งรังโรค 2 ร้อยละ 90 อสม.คัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยงในชุมชนที่มีประวัติตรงตามแนวทางด้านสาธารณสุข

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 114
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 114
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อลดอัตราการป่วยและเสียชีวิต จากโรคเลปโตสไปโรซีสในเขตตำบลวังมะปรางเหนือ (2) เพื่อให้ความรู้ประชาชนเรื่องโรคเลปโตสไปโรซีสและการป้องกันตนเองจากโรคดังกล่าว (3) เพื่อให้ อสม./อบต./กรรมการ/ผู้นำชุมชนและประชาชนทั่วไปปรับปรุงสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในหมู่บ้าน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวังควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคฉี่หนู (Leptospirosis)ในชุมชนอย่างเร่งด่วน ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 61-L1519-5-1

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลวังวิเศษ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด