โครงการการบริหารจัดการขยะเพื่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่ดี บ้านบุญเรือง หมู่ที่ 7 ต.จำป่าหวาย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการการบริหารจัดการขยะเพื่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่ดี บ้านบุญเรือง หมู่ที่ 7 ต.จำป่าหวาย ”
ตำบลจำป่าหวาย อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
หัวหน้าโครงการ
คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 7 ตำบลจำป่าหวาย อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จำป่าหวาย
สิงหาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการการบริหารจัดการขยะเพื่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่ดี บ้านบุญเรือง หมู่ที่ 7 ต.จำป่าหวาย
ที่อยู่ ตำบลจำป่าหวาย อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา จังหวัด พะเยา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการบริหารจัดการขยะเพื่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่ดี บ้านบุญเรือง หมู่ที่ 7 ต.จำป่าหวาย จังหวัดพะเยา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจำป่าหวาย อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จำป่าหวาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการบริหารจัดการขยะเพื่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่ดี บ้านบุญเรือง หมู่ที่ 7 ต.จำป่าหวาย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการบริหารจัดการขยะเพื่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่ดี บ้านบุญเรือง หมู่ที่ 7 ต.จำป่าหวาย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจำป่าหวาย อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กุมภาพันธ์ 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,185.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จำป่าหวาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เนื่องจากสภาพปัจจุบันนี้ ปัญหาขยะเป็นปัญหาระดับชาติ ซึ่งมีแนวโน้มจะเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆเนื่องจากประชาชนยังขาดความรู้ความตระหนักในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง การลดขยะ การบริหารจัดการขยะของคนในชุมชนร่วมกัน
จากการสำรวจข้อมูลการจัดการขยะครัวเรือนด้วยตนเองของบ้านบุญเรือง หมู่ที่ 7 ตำบล จำป่าหวาย พบว่าคนในชุมชนร้อยละ 70 ขาดความรู้ ความเข้าใจ ขาดความรับผิดชอบในการลด คัดแยกขยะในครัวเรือน มีพฤติกรรมการจัดการขยะในครัวเรือนไม่เหมาะสม โดยการนำไปเผาเป็นส่วนใหญ่ และทิ้งตามที่สาธารณะในชุมชน เป็นแหล่งน้ำขังของลูกน้ำยุงลาย พาหะนำโรคไข้เลือดออกซึ่งระบาดในพื้นที่ตำบลจำป่าหวายทุกปี ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมของประชาชน
จากความสำคัญของปัญหาดังกล่าวข้างต้น คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 7 ตำบลจำป่าหวาย ได้เล็งเห็นความสำคัญของการบริหารจัดการขยะอย่างถูกวิธี จึงได้จัดทำโครงการการบริหารจัดการขยะเพื่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่ดี บ้านบุญเรือง หมู่ที่ 7 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 2.1 เพื่อสร้างความรู้และความตระหนักแก่แกนนำครัวเรือนเกี่ยวกับ การลด คัดแยกขยะที่ต้นทางอย่างถูกต้อง 2.2 เพื่อให้ครัวเรือนในชุมชน มีการจัดกิจกรรมลด คัดแยกขยะที่ต้นทางอย่างเป็นรูปธรรม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. สำรวจข้อมูลปริมาณขยะครัวเรือนในชุมชน 2. ประชุมเตรียมความพร้อม อสม. คณะกรรมการ 3. พัฒนาศักยภาพแกนนำครัวเรือน 75 คน 4. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับการลด คัดแยกขยะ การจัดตั้งธนาคารขยะรีไซเคิล การลดการเผา ธรรมนูญตำบล 5. ติดตามประเมินความก้้าวหน้า
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
40
กลุ่มผู้สูงอายุ
35
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
2.1 เพื่อสร้างความรู้และความตระหนักแก่แกนนำครัวเรือนเกี่ยวกับ การลด คัดแยกขยะที่ต้นทางอย่างถูกต้อง 2.2 เพื่อให้ครัวเรือนในชุมชน มีการจัดกิจกรรมลด คัดแยกขยะที่ต้นทางอย่างเป็นรูปธรรม
ตัวชี้วัด : 1. แบบสรุปการประเมินผลความรู้ ก่อนและหลังดำเนินการโครงการ
2. ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมลด คัดแยกขยะที่ต้นทาง
118.96
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
75
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
40
กลุ่มผู้สูงอายุ
35
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1 เพื่อสร้างความรู้และความตระหนักแก่แกนนำครัวเรือนเกี่ยวกับ การลด คัดแยกขยะที่ต้นทางอย่างถูกต้อง 2.2 เพื่อให้ครัวเรือนในชุมชน มีการจัดกิจกรรมลด คัดแยกขยะที่ต้นทางอย่างเป็นรูปธรรม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. สำรวจข้อมูลปริมาณขยะครัวเรือนในชุมชน 2. ประชุมเตรียมความพร้อม อสม. คณะกรรมการ 3. พัฒนาศักยภาพแกนนำครัวเรือน 75 คน 4. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับการลด คัดแยกขยะ การจัดตั้งธนาคารขยะรีไซเคิล การลดการเผา ธรรมนูญตำบล 5. ติดตามประเมินความก้้าวหน้า
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการการบริหารจัดการขยะเพื่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่ดี บ้านบุญเรือง หมู่ที่ 7 ต.จำป่าหวาย จังหวัด พะเยา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 7 ตำบลจำป่าหวาย อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการการบริหารจัดการขยะเพื่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่ดี บ้านบุญเรือง หมู่ที่ 7 ต.จำป่าหวาย ”
ตำบลจำป่าหวาย อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
หัวหน้าโครงการ
คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 7 ตำบลจำป่าหวาย อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
สิงหาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลจำป่าหวาย อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา จังหวัด พะเยา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กุมภาพันธ์ 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการบริหารจัดการขยะเพื่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่ดี บ้านบุญเรือง หมู่ที่ 7 ต.จำป่าหวาย จังหวัดพะเยา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลจำป่าหวาย อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จำป่าหวาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการบริหารจัดการขยะเพื่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่ดี บ้านบุญเรือง หมู่ที่ 7 ต.จำป่าหวาย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการบริหารจัดการขยะเพื่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่ดี บ้านบุญเรือง หมู่ที่ 7 ต.จำป่าหวาย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลจำป่าหวาย อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กุมภาพันธ์ 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,185.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.จำป่าหวาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เนื่องจากสภาพปัจจุบันนี้ ปัญหาขยะเป็นปัญหาระดับชาติ ซึ่งมีแนวโน้มจะเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆเนื่องจากประชาชนยังขาดความรู้ความตระหนักในการคัดแยกขยะที่ต้นทาง การลดขยะ การบริหารจัดการขยะของคนในชุมชนร่วมกัน จากการสำรวจข้อมูลการจัดการขยะครัวเรือนด้วยตนเองของบ้านบุญเรือง หมู่ที่ 7 ตำบล จำป่าหวาย พบว่าคนในชุมชนร้อยละ 70 ขาดความรู้ ความเข้าใจ ขาดความรับผิดชอบในการลด คัดแยกขยะในครัวเรือน มีพฤติกรรมการจัดการขยะในครัวเรือนไม่เหมาะสม โดยการนำไปเผาเป็นส่วนใหญ่ และทิ้งตามที่สาธารณะในชุมชน เป็นแหล่งน้ำขังของลูกน้ำยุงลาย พาหะนำโรคไข้เลือดออกซึ่งระบาดในพื้นที่ตำบลจำป่าหวายทุกปี ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมของประชาชน จากความสำคัญของปัญหาดังกล่าวข้างต้น คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 7 ตำบลจำป่าหวาย ได้เล็งเห็นความสำคัญของการบริหารจัดการขยะอย่างถูกวิธี จึงได้จัดทำโครงการการบริหารจัดการขยะเพื่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่ดี บ้านบุญเรือง หมู่ที่ 7 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 2.1 เพื่อสร้างความรู้และความตระหนักแก่แกนนำครัวเรือนเกี่ยวกับ การลด คัดแยกขยะที่ต้นทางอย่างถูกต้อง 2.2 เพื่อให้ครัวเรือนในชุมชน มีการจัดกิจกรรมลด คัดแยกขยะที่ต้นทางอย่างเป็นรูปธรรม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. สำรวจข้อมูลปริมาณขยะครัวเรือนในชุมชน 2. ประชุมเตรียมความพร้อม อสม. คณะกรรมการ 3. พัฒนาศักยภาพแกนนำครัวเรือน 75 คน 4. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับการลด คัดแยกขยะ การจัดตั้งธนาคารขยะรีไซเคิล การลดการเผา ธรรมนูญตำบล 5. ติดตามประเมินความก้้าวหน้า
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 35 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 2.1 เพื่อสร้างความรู้และความตระหนักแก่แกนนำครัวเรือนเกี่ยวกับ การลด คัดแยกขยะที่ต้นทางอย่างถูกต้อง 2.2 เพื่อให้ครัวเรือนในชุมชน มีการจัดกิจกรรมลด คัดแยกขยะที่ต้นทางอย่างเป็นรูปธรรม ตัวชี้วัด : 1. แบบสรุปการประเมินผลความรู้ ก่อนและหลังดำเนินการโครงการ 2. ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมลด คัดแยกขยะที่ต้นทาง |
118.96 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 75 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 35 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1 เพื่อสร้างความรู้และความตระหนักแก่แกนนำครัวเรือนเกี่ยวกับ การลด คัดแยกขยะที่ต้นทางอย่างถูกต้อง 2.2 เพื่อให้ครัวเรือนในชุมชน มีการจัดกิจกรรมลด คัดแยกขยะที่ต้นทางอย่างเป็นรูปธรรม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. สำรวจข้อมูลปริมาณขยะครัวเรือนในชุมชน 2. ประชุมเตรียมความพร้อม อสม. คณะกรรมการ 3. พัฒนาศักยภาพแกนนำครัวเรือน 75 คน 4. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับการลด คัดแยกขยะ การจัดตั้งธนาคารขยะรีไซเคิล การลดการเผา ธรรมนูญตำบล 5. ติดตามประเมินความก้้าวหน้า
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการการบริหารจัดการขยะเพื่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมที่ดี บ้านบุญเรือง หมู่ที่ 7 ต.จำป่าหวาย จังหวัด พะเยา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 7 ตำบลจำป่าหวาย อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......