กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนโส


“ โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ปี พ.ศ.2567 ”

ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุมลฑา เศรษฐการ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ปี พ.ศ.2567

ที่อยู่ ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5170-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ปี พ.ศ.2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนโส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ปี พ.ศ.2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ปี พ.ศ.2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโส อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5170-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,320.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนโส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นเรื่องที่ป้องกันได้ แต่วัยรุ่นจำนวนมากยังไม่เข้าถึงข้อมูลและบริการด้านเพศ ทำให้วัยรุ่นขาดความรู้ และทักษะการหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยง ไม่ได้รับการจัดการเรียนรู้เรื่องเพศอย่างต่อเนื่อง ขาดความเข้าใจเรื่องการคุมกำดนิดอย่างถูกวิธี และไมาสามารถควบคุมอารมณ์ตนเองได้เมื่ออยู่กับเพศตรงข้าม ถูกกระตุ้นอารมณ์เพศจากสื่อทางลบ และใช้สารเสพติด รวมทั้งการเข้าไม่ถึงบริการคุมกำเนิดที่มีประสิทธิภาพ สิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยเสริมต่อพฤติกรรมทางเพศของวัยรุ่น ที่สถานการณ์และแนวโน้มขณะนี้น่าเป็นห่วง ผลกระทบอีกประการสำคัญที่เกิดจากพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น นอกจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์ คือการตั้งท้อง ในวัยรุ่นเป็นการตั้งครรภ์แบบไม่ตั้งใจ และเป็นการตั้งครรภ์นอกสมรส ในกลุ่มที่มีการตั้งครรภ์นี้ร้อยละ 30 จบลงด้วยการทำแท้ง นอกจากนี้การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นยังก่อให้เกิดปัญหาทางด้านเศรษฐกิจและสังคมอีกด้วยคือ การต้องหยุดหรือออกจากสถานศึกษา ไม่มีงานทำ ค่ารักษาพยาบาลขณะตั้งครรภ์ การคลอดบุตร และการเลี้ยงดูบุตร ปัญหาเหล่านี้ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของทั้งแม่วัยรุ่นและบุตรที่เกิดมา ปัจจุบันพบว่าเด็กและเยาวชนมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อย คือ อายุประมาณ 12 ปี ซึ่งเด็กในวัยนี้ยังขาดวุฒิภาวะและความรับผิดชอบของตนเอง ปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมเป็นปัญหาที่ทั่วโลกให้ความสำคัญส่งผลเสียทั้งด้านสุขภาพร่างกาย จิตใจ และตามมาด้วยผลกระทบในระยะยาว       ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนโส จึงได้จัดโครงการขึ้นเพื่อให้วัยรุ่นรับความรู้/ทักษะ รวมถึงการเข้าถึงบริการ โดยจะเน้นในเรื่อง การตั้งครรภ์ ยาเสพติด และโรคเอดส์

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และทักษะ การจัดการอารมณ์ตนเองการเรียนรู้เรื่องเพศและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
  2. 2.เพื่อลดปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในกลุ่มวัยรุ่น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ปี พ.ศ.2567
  2. 1.ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดทำโครงการและประชาสัมพันธ์โครงการ
  3. 2.ความรู้และฝึกทักษะ การจัดการอารมณ์ตนเองการเรียนรู้เรื่องเพศและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ใน รร. ทั้ง 3 แห่ง และ กศน.
  4. 3.จัดตั้งกลุ่มอาสาใน รร. นำร่อง 1 แห่งตั้งแต่อายุ 10-13 ปี เน้นดำเนินการคลินิกวัยรุ่นโดยเน้นการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ยาเสพติดและโรคเอดส์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการมีเพศสัมพัฯธ์ก่อนวัยอันควร 2.เยาวชนมีความเข้าใจเรื่องเพศศึกษาและพัฒนาการตนเอง 3.สามารถป้องกันการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมในวัยรุ่น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และทักษะ การจัดการอารมณ์ตนเองการเรียนรู้เรื่องเพศและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าอบรมมีความรู้และทักษะ การจัดการอารมณ์ตนเองการเรียนรู้เรื่องเพศและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

 

2 2.เพื่อลดปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในกลุ่มวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ80 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อกระบวนการอบรม

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และทักษะ การจัดการอารมณ์ตนเองการเรียนรู้เรื่องเพศและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (2) 2.เพื่อลดปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในกลุ่มวัยรุ่น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ปี พ.ศ.2567 (2) 1.ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดทำโครงการและประชาสัมพันธ์โครงการ (3) 2.ความรู้และฝึกทักษะ การจัดการอารมณ์ตนเองการเรียนรู้เรื่องเพศและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ใน รร. ทั้ง 3 แห่ง และ กศน. (4) 3.จัดตั้งกลุ่มอาสาใน รร. นำร่อง 1 แห่งตั้งแต่อายุ 10-13 ปี เน้นดำเนินการคลินิกวัยรุ่นโดยเน้นการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ยาเสพติดและโรคเอดส์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ปี พ.ศ.2567 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5170-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุมลฑา เศรษฐการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด