กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ


“ โครงการให้ความรู้เรื่องวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็ก 0-5 ปีแก่ผู้ปกครอง ”

ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายรีฎวน มะเซ็ง

ชื่อโครงการ โครงการให้ความรู้เรื่องวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็ก 0-5 ปีแก่ผู้ปกครอง

ที่อยู่ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4156-1-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 กรกฎาคม 2561 ถึง 24 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการให้ความรู้เรื่องวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็ก 0-5 ปีแก่ผู้ปกครอง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการให้ความรู้เรื่องวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็ก 0-5 ปีแก่ผู้ปกครอง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการให้ความรู้เรื่องวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็ก 0-5 ปีแก่ผู้ปกครอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4156-1-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 กรกฎาคม 2561 - 24 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,900.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

นโยบายของงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเพื่อให้งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ดำเนินไปโดยมีประสิทธิภาพ และบรรลุวัตถุประสงค์สูงที่สุด โดยมีแนวทางในการปฏิบัติงานของบุคลากร และแนวทางการรับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคซึ่งเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของเด็กไทยอายุ 0-5 ปี ทุกคน ที่ต้องได้รับให้ครบทุกชนิดตามกำหนดของกระทรวงสาธารณสุข เนื่องจากการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคด้วยวัคซีนแก่เด็กนั้นเป็นพื้นฐานสำคัญในการเสริมสร้างให้เด็กมีร่างกายที่แข็งแรง ปลอดจากโรค ซึ่งส่งผลต่อการพัฒนาด้านความคิดและการเรียนรู้ของเด็ก ที่จะเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศชาติต่อไปในอนาคต ฉะนั้นการเร่งรัดติดตามให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการฉีดให้ครอบคลุมจึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องดำเนินการ โดยสิ่งสำคัญคือการจัดบริการด้วยความสะดวก ปลอดภัย และต้องให้ครอบคลุมประชากรเป้าหมายในระดับสูงที่สุด เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในป้องกันการเกิดอัตราป่วย อัตราตาย และการระบาดในพื้นที่ด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน อาทิเช่น โรคบาดทะยัก โรคคอตีบ โรคไอกรน เป็นต้น จากการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกะรอ ในปี 2560 รพ.สต.เกะรอ มีการจัดบริการคลินิกเด็กดี 4 ครั้งต่อเดือน โดยกำหนดเป็นช่วงเช้าบริการฉีดวัคซีนที่มาตามนัดและช่วงบ่ายเชิงรุกในพื้นที่ จากการสำรวจเด็กอายุ 0-5 ปี มีจำนวนทั้งหมด 359 คน มารับวัคซีนตามนัด จำนวน 185 คน คิดเป็นร้อยละ51.53 ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดที่กำหนด พบว่าผู้ปกครองพาเด็กมารับบริการฉีดวัคซีนล่าช้า เสี่ยงต่อการรับวัคซีนไม่ตรงตามเกณฑ์อายุ และไม่ครบตามเกณฑ์อายุ จึงมีการติดตามทั้งเครือข่าย อสม. และเจ้าหน้าที่ประจำ รพ.สต.อย่างต่อเนื่อง เพื่อการให้บริการมีความครอบคลุมมากที่สุดครบถ้วน ร้อยละ 100 ทั้งนี้ต้องมีการประชาสัมพันธ์ถึงผลกระทบ ความรุนแรงของโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนเพิ่มเติม และอาศัยการมีส่วนร่วมของชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกะรอ จึงได้จัดโครงการติดตามการได้รับวัคซีน เด็ก 0-5 ปีอย่างต่อเนื่องปี 2561

งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน เป็นงานที่มีความสำคัญในการที่จะช่วยป้องกันการเกิดโรคและส่งเสริมสุขภาพพื้นฐานให้แก่ประชาชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกะรอ ได้ให้บริการตามมาตรฐานงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค แต่ผลงานความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนยังต่ำกว่าเป้าหมาย คือในปี 2559 คิดเป็นร้อยละ 46.39 และ ปี2560 ร้อยละ 78.18 ตามลำดับ จากการศึกษาปัญหาพบว่า กลุ่มที่ยังขาดคือกลุ่มเด็ก 0-5 ปี ที่ย้ายตามผู้ปกครองไปต่างจังหวัดและรายอยู่ในความดูแลของญาติ เริ่มแก้ปัญหาด้วยการใช้การติดตามทางโทรศัพท์ แต่พบปัญหาการติดต่อไม่ได้บ้างและเจ้าหน้าที่ให้ อสม.ติดตามก็มีปัญหาอสม.บางท่านไม่มีเวลาติดตามผู้รับบริการวัคซีน จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบนัดและติดตามความครอบคลุมการได้รับวัคซีนพื้นฐานในเด็กอายุ 0-5 ปีขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มจำนวนผู้มารับบริการวัคซีนที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกะรอมากขึ้น การใช้สื่อออนไลน์เช่นเฟสบุ้ค สามารถเพิ่มและติดตามความครอบคลุมการมารับวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็ก0-5 ปีให้บรรลุเป้าหมายตามมาตรฐาน และสามารถลดค่าโทรศัพท์ในการติดตามการมารับวัคซีนได้ในการพัฒนาระบบนัดการติดตามวัคซีนในเด็ก 0-5 ปีของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกะรอ ทำให้กลุ่มเป้าหมายได้รับวัคซีนครอบคลุม ลดการป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ลดภาระการกำจัดโรค ลดภาระการดูแลผู้ป่วย ซึ่งประเทศชาติต้องสูญเสียทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้ปกครองมีทัศนคติที่ดีต่อการได้รับวัคซีน
  2. 2. เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
  3. 3. ผู้ปกครองมีความรู้ในการดูแลเด็กหลังได้รับวัคซีน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้/ติดตามเด็กให้ได้รับวัคซีน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 150
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 150
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ปกครองมีทัศนคติที่ดีต่อการได้รับวัคซีน ร้อยละ 90
  2. ผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน ร้อยละ 90
  3. ผู้ปกครองมีความรู้ในการดูแลเด็กหลังได้รับวัคซีน ร้อยละ 90

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้/ติดตามเด็กให้ได้รับวัคซีน

วันที่ 24 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. สร้างระบบติดตามใหม่ขึ้นมาโดยการให้มี อสม.เลือกผู้นำที่สามารถชักจูงเพื่อน อสม.ด้วยกัน เพื่อติดตามผู้รับบริการอย่างเข้มข้น
  2. ให้ความรู้เรื่องโรคที่เกิดจากการไม่ได้รับวัคซีน
  3. สร้างทีมงานเพื่อนช่วยเพื่อนในการให้คำปรึกษาเรื่องภูมิคุ้มกันโรค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้รับบริการมาฉีดวัคซีนตามวันที่นัดหมาย
2.ผู้รับบริการมีสุขภาพดี ไม่เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
3.ผู้ปกครองมีทัศนคติที่ดี และทราบผลเสียของการได้รับวัคซีนล่าช้า

 

150 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้ปกครองมีทัศนคติที่ดีต่อการได้รับวัคซีน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3. ผู้ปกครองมีความรู้ในการดูแลเด็กหลังได้รับวัคซีน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 150
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 150
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ปกครองมีทัศนคติที่ดีต่อการได้รับวัคซีน (2) 2. เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน (3) 3. ผู้ปกครองมีความรู้ในการดูแลเด็กหลังได้รับวัคซีน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้/ติดตามเด็กให้ได้รับวัคซีน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการให้ความรู้เรื่องวัคซีนขั้นพื้นฐานในเด็ก 0-5 ปีแก่ผู้ปกครอง จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4156-1-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายรีฎวน มะเซ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด