กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ


“ โครงการสุขภาพดี วิถีมุสลิม ”

ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายแวยูนุ๊ หะรง

ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพดี วิถีมุสลิม

ที่อยู่ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4156-2-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มีนาคม 2561 ถึง 16 มีนาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาพดี วิถีมุสลิม จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพดี วิถีมุสลิม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุขภาพดี วิถีมุสลิม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4156-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มีนาคม 2561 - 16 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,100.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดูแลสุขภาพและการดำเนินงานด้านสาธารณสุขในยุคปัจจุบันนั้น ความเกี่ยวข้องระหว่างศาสนากับสุขภาพเป็นเรื่องสำคัญประการหนึ่งที่มีการกล่าวถึงอยู่ไม่น้อย ดังเช่นศาสนาอิสลาม หากย้อนกลับไปพิจารณาวิถีของอิสลาม ซึ่งเป็นวิถีในการดำเนินชีวิตที่สมบูรณ์และครอบคลุมทุกๆ ด้าน (The way of life) เรื่องสุขภาพและความเจ็บป่วยนั้น อิสลามได้พูดถึงอย่างละเอียดทั้งด้านการส่งเสริม ป้องกัน บำบัดรักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพ เป็นสิ่งที่มุสลิมทุกคนต้องนำมาปฏิบัติ เริ่มตั้งแต่หัวใจ และจิตใจของมนุษย์จนครอบคลุมทุกส่วนของร่างกาย รวมไปถึงสภาพแวดล้อมที่มนุษย์ใช้ชีวิตอยู่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการกำหนดกรอบความสัมพันธ์อย่างเป็นระบบระหว่างสุขภาพกับศาสนพิธี หรือ “อิบาดะอ์” เช่น การละหมาด การถือศีลอด การอาบน้ำละหมาด การออกกำลังกาย โภชนาการ การพักผ่อน การป้องกัน การรักษา การปฏิบัติตามคำสอนของอิสลามจึงเป็นการปฏิบัติดีเกี่ยวกับสุขภาพไปพร้อมกันด้วย จากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมในยุคปัจจุบัน ทำให้วิถีชีวิตของคนไทยเปลี่ยนแปลงไป มีการดำเนินชีวิตอย่างเร่งรีบ ทำให้เกิดพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ เช่น การบริโภคอาหารไม่ถูกหลักโภชนาการ, ขาดการออกกำลังกายที่เหมาะสม, ความเครียด, การพักผ่อนไม่เพียงพอ และการดื่มเหล้าสูบบุหรี่ ฯลฯ นำไปสู่การเกิดโรคต่างๆ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง เป็นต้น ซึ่งทั้งหมดล้วนเกิดจากพฤติกรรมเสี่ยงและการใช้ชีวิตที่ไม่เหมาะสม ทำให้เกิดปัญหาสุขภาพในระยะยาว ส่งผลกระทบทั้งต่อตัวผู้ป่วยเอง ครอบครัว สังคมและประเทศชาติ ทั้งนี้ ในพื้นที่ตำบลเกะรอก็เช่นเดียวกัน ปัจจุบันยังมีอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้นทุกปี ทั้งโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง ฯลฯ ซึ่งโรคดังกล่าวเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของพื้นที่มาโดยตลอดและได้มีความพยายามในการดำเนินการแก้ไขปัญหา โดยคาดหวังว่าจะเป็นการแก้ปัญหาที่มีความยั่งยืน จึงมีความจำเป็นที่จะต้องดำเนินการแก้ไขปัญหาอย่างต่อเนื่องและมีการติดตามผลอย่างใกล้ชิด จากข้อมูลการสำรวจสถานะสุขภาพของตำบลเกะรอปี 2560 พบว่า มีผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวาน 221 ราย คิดเป็นร้อยละ 2.91 ผู้ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง 531 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.98 อัตราป่วยด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือดต่อประชากร (รวมทุกกลุ่มประชากร) คิดเป็นร้อยละ 0.29 จากข้อมูลดังกล่าว ประชาชนตำบลเกะรอได้ตระหนักถึงปัญหาและเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเอง รวมถึงเข้าใจสาเหตุและสภาพปัญหาทางด้านสุขภาพต่างๆที่เกิดขึ้น จึงได้จัดทำโครงการสุขภาพดี วิถีมุสลิม และจัดกิจกรรมต่างๆให้สอดคล้องกับสภาพความต้องการของประชาชนตำบลเกะรอ โดยเพิ่มแนวคิด/รูปแบบของการส่งเสริมสุขภาพที่มีต้นแบบมาจากท่านศาสดามูฮัมมัด (ซ.ล.) มาใช้บูรณาการในการดูแลสุขภาพ นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามวิถีชีวิตในแบบมุสลิม และในการดำเนินกิจกรรมมีการใช้กระบวนการสุนทรียสนทนา เป็นเวทีการแลกเปลี่ยนความรู้ ระหว่างเครือข่ายการทำงานระหว่างบุคลากรสาธารณสุขและประชาชนในพื้นที่ โดยมุ่งหวังให้เกิดการตระหนัก การมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชน องค์กรปกครองท้องถิ่นและหน่อยงานภาครัฐ ทั้งนี้ได้มุ่งเน้นในด้านการส่งเสริมพัฒนาเกี่ยวกับสุขภาพ สังคม และเศรษฐกิจภูมิปัญญาของคนในชุมชน เพื่อต่อยอดและยกระดับสู่การเป็นชุมชนตัวอย่างต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ประชาชนตำบลเกะรอมีความรู้และทักษะในการจัดการและดูแลสุขภาพตนเอง
  2. 2. เพื่อให้ประชาชนตำบลเกะรอมีความรู้ในการออกกำลังกาย การเลือกรับประทานอาหารนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตนเองไปในทิศทางที่ดีขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และทักษะในการจัดการและดูแลสุขภาพตนเอง
  2. ร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตนเองไปในทิศทางที่ดีขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้

วันที่ 15 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ เช่น การออกกำลังกาย การรับประทานอาหาร
  2. กิจกรรมประกวดบุคคลต้นแบบสุขภาพดี
  3. กิจกรรมสาธิตการประกอบอาหารเพื่อสุขภาพและการออกกำลังกายที่ถูกวิธี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนตำบลเกะรอมีความรู้และทักษะในการจัดการและดูแลสุขภาพตนเอง มีความรู้ในการออกกำลังกาย การเลือกรับประทานอาหารนำไปสู่การเปลี่ยน  แปลงพฤติกรรมตนเองไปในทิศทางที่ดีขึ้น

 

150 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ประชาชนตำบลเกะรอมีความรู้และทักษะในการจัดการและดูแลสุขภาพตนเอง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพื่อให้ประชาชนตำบลเกะรอมีความรู้ในการออกกำลังกาย การเลือกรับประทานอาหารนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตนเองไปในทิศทางที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนตำบลเกะรอมีความรู้และทักษะในการจัดการและดูแลสุขภาพตนเอง (2) 2. เพื่อให้ประชาชนตำบลเกะรอมีความรู้ในการออกกำลังกาย การเลือกรับประทานอาหารนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตนเองไปในทิศทางที่ดีขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสุขภาพดี วิถีมุสลิม จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4156-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายแวยูนุ๊ หะรง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด