กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ


“ โครงการดูแลและป้องกันภาวะเด็กจมน้ำในพื้นที่ตำบลเกะรอ ”

ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายปริญญามะรียา

ชื่อโครงการ โครงการดูแลและป้องกันภาวะเด็กจมน้ำในพื้นที่ตำบลเกะรอ

ที่อยู่ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4156-2-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 สิงหาคม 2561 ถึง 17 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการดูแลและป้องกันภาวะเด็กจมน้ำในพื้นที่ตำบลเกะรอ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลและป้องกันภาวะเด็กจมน้ำในพื้นที่ตำบลเกะรอ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการดูแลและป้องกันภาวะเด็กจมน้ำในพื้นที่ตำบลเกะรอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L4156-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 สิงหาคม 2561 - 17 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,900.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์การตกน้ำจมน้ำของเด็กในประเทศไทยอายุต่ำกว่า 15 ปี เป็นสาเหตุแห่งการเสียชีวิตอันดับหนึ่งในทุกสาเหตุทั้งโรคติดเชื้อและไม่ติดเชื้อ อัตราการเสียชีวิตต่อประชากรแสนคน (ปี พ.ศ. 2548–2557)  มีจำนวนการเสียชีวิตเฉลี่ยปีละ 1,177 คน หรือวันละ 3.2 คน อัตราการป่วยตาย (Case Fatality Rate) จากการจมน้ำเท่ากับร้อยละ 37.2 กลุ่มประชากรเสี่ยง ได้แก่ เด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ซึ่งมีสัดส่วนการเสียชีวิตจากการตกน้ำ/จมน้ำสูงถึงร้อยละ 30 ของทุกกลุ่มอายุ โดยเพศชายมีอัตราการเสียชีวิตสูงกว่าเพศหญิงประมาณ    2 เท่าตัว และกระทรวงสาธารณสุขพบว่าทุกๆ 8 ชั่วโมง จะมีเด็กจมน้ำเสียชีวิต 1 คน โดยเฉลี่ยทุกๆ 1 เดือน ประเทศไทยสูญเสียเด็กจากการจมน้ำเสียชีวิตมากกว่า 90 คน ซึ่งในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา (ปี 2549 – 2558) ประเทศไทยสูญเสียเด็กไปแล้วถึง 10,923 คน (ข้อมูลจากสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค) จากข้อมูลการเฝ้าระวัง เด็กมักจะจมน้ำเสียชีวิตพร้อมกันหลายๆ คน เนื่องจากเด็กไม่รู้วิธีการเอาชีวิตรอดในน้ำและวิธีการช่วยเหลือที่ถูกต้องจึงมักจะกระโดดลงไปช่วยคนที่ตกน้ำ และจากการศึกษาของสำนักงานโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรคพบว่าเด็กไทยอายุต่ำกว่า 15 ปี ว่ายน้ำเป็นร้อยละ 23.7 และว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดได้ (มีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ ทักษะการเอาชีวิตรอด และทักษะการช่วยเหลือ) เพียงร้อยละ 4.4 ทั้งนี้เด็กที่เรียนหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดจะมีความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ ทักษะการเอาชีวิตรอด  ในน้ำ และทักษะการช่วยผู้ประสบภัยทางน้ำ มากกว่าคนที่ไม่ได้เรียนถึง 7.4 เท่า, 20.7 เท่า และ 2.7 เท่า ตามลำดับ และช่วงเดือนเมษายนเป็นช่วงที่มีเด็กจมน้ำเสียชีวิตมากที่สุด เท่ากับ 148 คน รองลงมา คือ เดือนมีนาคม มีจำนวน 129 คน และเดือนพฤษภาคม 125 คน ซึ่งช่วงดังกล่าวเป็นช่วงปิดภาคการศึกษา
พื้นที่เขตตำบลเกะรอ เป็นพื้นที่ที่มีแม่น้ำสายบุรีไหลผ่าน ซึ่งเป็นแม่น้ำที่มีระดับน้ำค่อนข้างลึก ตลิ่งค่อนข้างสูงและชัน รวมถึงกระแสน้ำไหลเชี่ยว เมื่อถึงฤดูน้ำหลากก็จะมีการเอ่อล้นของน้ำเข้าท่วมหมู่บ้านต่างๆภายในตำบล นอกจากนี้ยังมีบึงน้ำในแต่ละชุมชนจำนวนหลายแห่ง ซึ่งถือเป็นจุดเสี่ยงที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุจมน้ำของเด็กและคนในชุมชนได้ โดยสถานการณ์การจมน้ำในปี 2559 และปี 2560 ที่ผ่านมา ตำบลเกะรอมีจำนวนผู้เสียชีวิตจากการจมน้ำปีละ 1 คน ดังนั้น หน่วยกู้ชีพอิควะห์รามัน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญเกี่ยวกับเรื่องความปลอดภัยทางน้ำ ทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำ และทักษะการช่วยผู้ประสบภัยทางน้ำ จึงได้จัดทำโครงการดูแลและป้องกันภาวะเด็กจมน้ำในพื้นที่ตำบลเกะรอ ปีงบประมาณ 2561 เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะในการป้องกันและการช่วยชีวิตในกรณีมีเหตุจมน้ำ รวมไปถึงเพื่อลดความสูญเสียจากสาเหตุ    การจมน้ำ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้และทักษะในการป้องกันและการช่วยชีวิตในกรณีมีเหตุจมน้ำ
  2. 2. เพื่อลดความสูญเสียจากสาเหตุการจมน้ำ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ร้อยละ 80 ของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และทักษะในการป้องกันและช่วยเหลือเด็กจมน้ำ
  2. ไม่มีอัตราการเสียชีวิตจากสาเหตุการจมน้ำในพื้นที่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้

วันที่ 16 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. อบรมให้ความรู้และดำเนินกิจกรรมเสริมทักษะเพื่อป้องกันและช่วยเหลือเด็กจมน้ำ
  2. ฝึกซ้อมสถานการณ์จริงเพื่อช่วยเหลือเด็กที่กำลังจมน้ำ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และทักษะในการป้องกันและช่วยเหลือเด็กจมน้ำ

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และทักษะในการป้องกันและช่วยเหลือเด็กจมน้ำ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้และทักษะในการป้องกันและการช่วยชีวิตในกรณีมีเหตุจมน้ำ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2. เพื่อลดความสูญเสียจากสาเหตุการจมน้ำ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เด็กนักเรียนมีความรู้และทักษะในการป้องกันและการช่วยชีวิตในกรณีมีเหตุจมน้ำ (2) 2. เพื่อลดความสูญเสียจากสาเหตุการจมน้ำ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การรณรงค์/ประชาสัมพันธ์/ฝึกอบรม/ให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการดูแลและป้องกันภาวะเด็กจมน้ำในพื้นที่ตำบลเกะรอ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L4156-2-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายปริญญามะรียา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด