กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลห้วยยอด


“ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็ก 6 ปี - 12 ปี 11 เดือน 29 วัน ในเขตเทศบาลตำบลห้วยยอด จังหวัดตรัง ปี 2567 ”

ตำบลห้วยยอด อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวชาลินี สุขสนาน

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็ก 6 ปี - 12 ปี 11 เดือน 29 วัน ในเขตเทศบาลตำบลห้วยยอด จังหวัดตรัง ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลห้วยยอด อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ L8017-01-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 พฤศจิกายน 2566 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็ก 6 ปี - 12 ปี 11 เดือน 29 วัน ในเขตเทศบาลตำบลห้วยยอด จังหวัดตรัง ปี 2567 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลห้วยยอด อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลห้วยยอด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็ก 6 ปี - 12 ปี 11 เดือน 29 วัน ในเขตเทศบาลตำบลห้วยยอด จังหวัดตรัง ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็ก 6 ปี - 12 ปี 11 เดือน 29 วัน ในเขตเทศบาลตำบลห้วยยอด จังหวัดตรัง ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลห้วยยอด อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ L8017-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 พฤศจิกายน 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลห้วยยอด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

แผนพัฒนาทันตสาธารณสุขแห่งชาติฉบับที่ 4 (พ.ศ.2520 - 2525) จนถึงปัจจุบัน จัดให้นักเรียนระดับประถมศึกษาเป็นเป้าหมายหลักในการดำเนินงานทันตสาธารสุข ปัญหาสุขภาพช่องปากเป้นปัญหาที่สำคัญ และก่อให้เกิดผลเสียสุขภาพร่างกายและจิตใจ รวมทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งเป็นปัญหาที่สามารถป้องกัน และลดความรุนแรงของโรคได้ เด็กอายุ 6 - 12 ปี มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคในช่องปากสูง เนื่องจากเป็นกลุ่มวัยที่เริ่มสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมต่างๆ ที่เข้ามามีอิทธิพล ดังนั้นจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งในการตรวจและบริการทันตกรรมแก่เด็กช่วงวัยนี้โดยทันตบุคลากรและปลูกฝังพฤติกรรมทันตสุขภาพที่ถูกต้อง เพื่อจะได้เติบดตเป็นผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพช่องปากที่สมบูรณ์ต่อไป จากผลสำรวจสภาวะทันตสุขภาพนักเรียนระดับประเทศครั้งที่7 ของสำนักทัตสาธารณสุข กรมอนามัยพบว่าเด็กประถมศึกษามีอัตราเกิดดรถฟันผุ ร้อยละ 52.3 ค่าเฉลี่ยฟันผุถอรอุดเพียง 1.92 ซี่/คน มีกลวิธีการดำเนินงานส่งเสริมใทันตสุขภาพ และการแก้ปัญหาฟันผุในเด็กวัยเรียน ในหลากหลายกิจกรรม   ตามที่สำนักทันตสาธารณสุข กระทราวงสาธารณสุขมีนโยบาย จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคด้านทันตกรรมสำหรับเด็ก "ยิ้มสดใส เด็กไทยฟันดี"  ตั้งแต่ ปี 2548 เพื่อให้เด็กประศึกษาได้รับการดูแลทันตสุขภาพอย่างเหมาะสม โดยมุ่งเน้นบริการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพที่มีคุณภาพ และครอบคลุม ร่วมกับการพัฒนาศักยภาพของเด็กในการดูแลรักษาอนามัยในช่องปากของตนเอง และมีการดำเนินโครงการอย่างต่อเนื่อง ใน ปี 2558 โดยการดำเนินงานนี้ เด็กชั้นประถมศึกษาที่ 1 , 3 และ 6 ได้รับบริการตรวจฟันแบบครอบคลุมทุกซี่ในช่องปาก ส่วนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันซี่ที่หนึ่ง ส่วนนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 ได้รับการเคลือบหลุมร่องฟันในฟันกรามแท้ซี่ที่แท้ ซึ่งเสี่ยงต่อการผุบนด้านบดเคี้ยว เช่นเดียวกับรุ่นที่ได้รับบริการในปีที่ผ่านมาโดยคาดว่าจะสามารถลดอัตราการเกิดโรคฟันผุในฟันกรามแท้ลดลง ระบบการดำเนินโครงการนี้ จึงมุ่งที่จะจัดทำข้อเสนอแนะเพื่อจดการระบบบริการส่งเสริมใป้องกันทันตสุขภาพ และการบริหารจัดการที่เหมาะสมสอดคล้องกับบริบทที่แตกต่างกันของพื้นที่ และสามารถตอบสนองความจำเป้นของเด็กนักเรียนประะถมศึกษาในสถานศึกษาระดับประถมศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพในการป้องกันการเกิดโรถฟันผุจึงควรครอบคลุมถึงการให้คำแนะนำเรื่องการรับประทานอาหารให้ถูกต้องการแปรงฟันและใช้ไหมขัดฟันที่ถูกวิธีฟลูออไรด์เป็นสารทืที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่ามีผลในการควบคุมโรคฟันผุได้ โดยมีกลไลป้องกันฟันผุคือชะลอกระบวนการสลายของแร่ธาตุจากผิวฟันและส่งเสริมการเกิดกระบวนการคืนกลับของแร่ธาตุสู่ผิวฟัน ช่วยให้เคลือบฟันแข็งแรงและรบกวนเมตาลิซึมของแบคทีเรีย ปัจจบันมีการแนะนำให้ใช้ฟลูออไรด์วานิชในการป้องกันโรคฟันผุ   จากผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพของจังหวัดตรัง พบปัญหาสุขภาพช่องปากของเด็กประถมศึกษาพบอัตราการเกิดโรคฟันผุในปี 2565  ร้อยละ 28.30 และผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพของอำเภอห้วยยอด พบว่าเด็กประถมมีอัตราการเกิดโรคฟันผุในปี 2565 ร้อยละ 32.80 อำเภอห้วยยอดมีระดับฟันผุที่สุงกว่าระดับจังหวัด การมีฟันแท้ผุจะส่งผลต่อการสูญเสียฟัน ในอนาคต กลุ่มงานทันตกรมม โรงพยาบาลห้วยยอด ได้ตระหนักถึงความจำเป้นในการส่งเสริมป้องกันโรคฟันผุ และลดความเสี่ยงของฟันกรามที่จะทำให้เกิดฟันผุ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคดด้าน ทันตกรรมสำหรับเด็ก "ยิ้มสดใส เด็กไทยฟันดี" เขตเทศบาลตำบลห้วยยอด จังหวัดตรัง ปี 2567 ขึ้น เพื่อจัดบริการตรวจสุขภาพช่องปาก ให้ทันตสุขและสาธิตการ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสร้างสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากในเด็กปฐมศึกษา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    อีตราการปราศจากฟันผุของเด็กประถมศึกษาในเขตเทศบาลตำบลห้วยยอดเพิ่มสุงขึ้นและผ่านเกณฑ์การประเมินตามตัวชี้วัดระดับประเทศ


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1 เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสร้างสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากในเด็กปฐมศึกษา
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของเด็ก 6ปี - 12 ปี 11 เดือน 29 วัน ได้รับบริการตรวจฟัน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการสร้างสุขภาพและป้องกันโรคในช่องปากในเด็กปฐมศึกษา

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็ก 6 ปี - 12 ปี 11 เดือน 29 วัน ในเขตเทศบาลตำบลห้วยยอด จังหวัดตรัง ปี 2567 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ L8017-01-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวชาลินี สุขสนาน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด