กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง


“ โครงการเครือข่ายโรงเรียนเด็กควนฯฟันดี 2567 (ประเภที่ 1) ”

ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางนันทิกานต์ อุบล

ชื่อโครงการ โครงการเครือข่ายโรงเรียนเด็กควนฯฟันดี 2567 (ประเภที่ 1)

ที่อยู่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 24/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเครือข่ายโรงเรียนเด็กควนฯฟันดี 2567 (ประเภที่ 1) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเครือข่ายโรงเรียนเด็กควนฯฟันดี 2567 (ประเภที่ 1)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเครือข่ายโรงเรียนเด็กควนฯฟันดี 2567 (ประเภที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 35,310.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคฟันผุและเหงือกอับเสบเป็นโรคที่สามารถที่ป้องกันได้ แต่จากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากแห่งชาติ พบว่าเด็กวันเรียนมากกว่าครึ่งมีฝันผุและเหงือกอักเสบ ซึ้งโรคฝันผุจะส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวันของเด็ก ทั้งในเรื่องการรับประทานอาหาร การพักผ่อน การรักษาสภาวะอารมณ์และการศึกษาการเรียนรู้   การดำเนินกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน เน้นโรงเรียนเป็นจุดเริ่มต้นของการปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ในเด็ก ซึ่งจะส่งผลต่อเนื่องไปจนถึงวัยผู้ใหญ่และโรงเรียนยังเป็นศูนย์กลางของกลางเชื่อมโอกาสพัฒนาสุขภาพที่ดีไปสู่ผู้ปกครองและชุมชน การจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในโรงเรียนประถมศึกษาที่เหมาะสม จึงเป็นมาตรการสำคัญที่ทำให้เด็กมีสุขภาพดี   กลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลควนกาหลง ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลควนกาหลง ในปีพ.ศ.2565 เพื่อดำเนินกิจกรรมเครื่อข่ายโรงเรียนเด็กควนฯฟันดี โดยจัดกิจกรรมอบรมแกนนำนักเรียน และดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพช่องปากในโรงเรียนนำร่อง 5 แห่ง ได้แก่โรงเรียนบ้านควนล่อน โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนยูงทองรัฐประชาสรรค์ โรงเรียนนิคมซอย 10 โรงเรียนบ้านเขาไคร และโรงเรียนบ้านเหนือคลอง ในการนี้เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างต่อเนื่องและขยายเครือข่ายให้เข้มแข็ง กลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลควนกาหลงจึงจัดทำโครงการเครือข่ายโรงเรียนเด็กควนฯฟันดี 2567 ขึ้น โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือ โรงเรียนเดิมที่เป็นแกนนำ 5 แห่งและขยายเครือข่ายไปยังโรงเรียนในเขตตำบลควนกาหลง เพิ่ม 3 แห่ง ได้แก่โรงเรียนบ้านห้วยนำดำ โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านส้านแดง และโรงเรียนกลุ่ม 5 ประชารัฐ โดยมีกิจกรรมสร้างเครือข่ายให้เข้มแข็ง กำหนดนโยบายด้านสุขภาพร่วมกันสร้างแกนนำนักเรียน สนับสนุนกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน และจัดกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขศึกษาในโรงเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 430
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.โรงเรียนเครือข่ายเด็กควนฯฟันดี มีนโยบายสุขภาพร่วมกัน ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้างที่เอื้อต่อการมีสุขภาพช่องปากที่ดีของนักเรียน 2.นักเรียนแกนนำด้สนสุขภาพ ได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากที่เหมาะสม เพื่อเป็นตัวอย่างที่ดี และมีส่วนร่วมในการติดตามการดำเนินกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปากในโรงเรียน 3.นักเรียนกลุ่มเป้าหมาย ชั้น ป.4-6 ได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปาก สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ 4.โรงเรียนเครือข่ายเด็กควนฯฟันดี ทั้ง8 แห่ง มีการดำเนินงานด้านสุขภาพช่องปากที่ต่อเนื่องและเครือข่ายเข้าแข็ง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 430
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 430
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเครือข่ายโรงเรียนเด็กควนฯฟันดี 2567 (ประเภที่ 1) จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนันทิกานต์ อุบล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด