กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ การจัดการสิ่งแวดล้อมให้น่าอยู่โดยชุมชน ปี2567 ”
ตำบลยามู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นายวีระศักดิ์ ดารากัย




ชื่อโครงการ การจัดการสิ่งแวดล้อมให้น่าอยู่โดยชุมชน ปี2567

ที่อยู่ ตำบลยามู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L8284-02-15 เลขที่ข้อตกลง 019

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 สิงหาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"การจัดการสิ่งแวดล้อมให้น่าอยู่โดยชุมชน ปี2567 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยามู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหริ่ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การจัดการสิ่งแวดล้อมให้น่าอยู่โดยชุมชน ปี2567



บทคัดย่อ

โครงการ " การจัดการสิ่งแวดล้อมให้น่าอยู่โดยชุมชน ปี2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยามู อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L8284-02-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 สิงหาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,790.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลยะหริ่ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อสร้างจิตรสำนึกของคนในชุมชนในการดูแลความสะอาด 2.เพื่อจัดระเบียบของชุมชนด้านความสะอาดและความสวยงามของบ้านเรือน 3.เพื่อสร้างความตระหนักในการจัดการขยะให้ถูกวิธี 4.เพื่อคัดแยกขยะเปียกและขยะแห้งลดภาระของพนักงานในการจัดเก็บ
  2. เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน
  3. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
  4. เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
  5. เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน
  2. การอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะในครัวเรือนและขยะต้นทาง
  3. การทำปุ๋ยก้อนบำรุงดิน/โมโมเร่งดอก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ครัวเรือนในชุมชนบ้านกลาง 70

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกิดความตระหนัก และจิตสำนึกในการรักษาความสะอาด ของคนในชุมชน 2.เกิดการจัดการที่เป็นระบบในการแยกขยะเปียก และขยะแห้ง ลดงบประมาณของท้องถิ่น ในการจัดเก็บขยะที่มีปริมาณมากในแต่ละวัน 3.เกิดความสะอาดเป็นระเบียบเรียบร้อยในชุมชน และการจัดบ้านเรือนที่สวยงาม ด้วยการตกแต่งด้วย พันธุ์ไม้/ดอก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงาน

วันที่ 28 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการ แบ่งหน้าที่รับผิดชอบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการได้รู้ัถึงบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ

 

10 0

2. การอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะในครัวเรือนและขยะต้นทาง

วันที่ 18 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ให้ความรู้ด้านการคัดแยกขยะเปียกโดยใช้ถังเจาะรู ฝังกลบในคิน ย่อยสลายโดยใช้ EM และกากน้ำตาลของขยะที่เป็นเศษอาหารจากครัวเรือน - ให้ความรู้การจัดการขยะแห้งRECYCLE และขยะอันตรายทิ้งให้ถูกวิธี - การจัดการขยะต้นทาง มีรายละเอียดค่าใช้จ่ายดังนี้ - ค่าวิทยากร 5 ชมๆละ600บาทเป็นเงิน 3,000 บาท • ค่าอาหาร จำนวน เมื้อๆละ60 บาท x 70 คน เป็นเงิน 4,200 บาท • ค่าอาหารว่าง 2 มื้อ x 30 บาท x 70 คน เป็นเงิน 4,200 บาท • ค่าป้ายประชาสัมพันธ์เป็นเงิน 750 บาท • ค่าเช่าเต้นท์เก้าอี้/โต๊ะเป็นเงิน 1,050 บาท • ค่าวัสดุอุปกรณ์ ที่ใช้ในการฝึกอบรมและสาธิต • ลวดตะแกรง 1,000 บาท • ลวดมัด 200 บาท • คืม 200 บาท • ดิน1,500 บาท ปุ๋ย500 บาท • EM240 บาท • กากน้ำตาล200 บาท ถังพลาสติก 70 ใบ 7,000 บาท ปากกา70 แท่ง 490 บาท กระดาษ A4 200 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เกิดการจัดการขยะอย่างถูกวิธี การจัดการขยะได้มากกว่าความสะอาดคือความรักความสามัคคี นำไปสู่การแก้ไขปัญหาใน ค้านต่างๆของชุมชน เรื่องสิ่งแวดล้อมจากความร่วมมือร่วมใจของคณะกรรมการและพี่น้องประชาชน 2.เกิดการจัดการขยะให้เกิดประโยชน์

 

70 0

3. การทำปุ๋ยก้อนบำรุงดิน/โมโมเร่งดอกการผสมดิน

วันที่ 25 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.วิทยากรให้ความรู้ด้านการจัดการบ้านเรือนให้น่าอยู่ โดยจัดสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านตกแต่งด้วยวัสดุเหลือใช้ และขยะดีโดยการปลูกต้นไม้ และดอกไม้/ผักสวนครัว ให้เกิดความสวยงามในเศษวัสดุเหลือใช้ 2. วิทยากรให้ความรู้ การผสมปุ๋ยอินทรีย์โดยใช้เศษใบไม้แห้ง/ขี้เลื่อย/มูลสัตว์ ผสมย่อยสลายด้วย EM 3. ให้ความรู้การทำปุ๋ยก้อน เพื่อลดต้นทุนการผลิตในการบำรุงดิน/ต้นไม้ • ปุ๋ย/มูลสัตว์ 200 บาท -พันธุ์พริก 1,200 บาท -กากน้ำตาล 200 บาท -รำละเอียด 500 บาท -Em 200 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ประชาชนชุมชนบ้านกลาง เกิดการจัดการขยะในครัวเรือน ให้มีปริมาณลดลง ไม่เกิดภาวะมีกลิ่นต่อสภาพสิ่งแวดล้อม

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อสร้างจิตรสำนึกของคนในชุมชนในการดูแลความสะอาด 2.เพื่อจัดระเบียบของชุมชนด้านความสะอาดและความสวยงามของบ้านเรือน 3.เพื่อสร้างความตระหนักในการจัดการขยะให้ถูกวิธี 4.เพื่อคัดแยกขยะเปียกและขยะแห้งลดภาระของพนักงานในการจัดเก็บ
ตัวชี้วัด : 1.เกิดความสัมพันธ์ภายในชุมชนในการทำกิจกรรมร่วมกัน 2.เกิดการจัดการขยะที่ต้นทาง
48.00 80.00

 

2 เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน
ตัวชี้วัด : ปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน
32.00 10.00

 

3 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ
34.00 70.00

 

4 เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน
2.00 5.00

 

5 เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ
58.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ครัวเรือนในชุมชนบ้านกลาง 70

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างจิตรสำนึกของคนในชุมชนในการดูแลความสะอาด 2.เพื่อจัดระเบียบของชุมชนด้านความสะอาดและความสวยงามของบ้านเรือน 3.เพื่อสร้างความตระหนักในการจัดการขยะให้ถูกวิธี 4.เพื่อคัดแยกขยะเปียกและขยะแห้งลดภาระของพนักงานในการจัดเก็บ (2) เพื่อลดปริมาณขยะของครัวเรือนทั้งหมดในชุมชนต่อวัน (3) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะเป็นประจำ (4) เพื่อเพิ่มจำนวนกลุ่มหรือเครือข่ายการจัดการขยะในชุมชน (5) เพื่อเพิ่มครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ขยะเปียก เช่น การทำปุ๋ยหมัก การทำน้ำหมักชีวภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) การอบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะในครัวเรือนและขยะต้นทาง (3) การทำปุ๋ยก้อนบำรุงดิน/โมโมเร่งดอก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


การจัดการสิ่งแวดล้อมให้น่าอยู่โดยชุมชน ปี2567 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L8284-02-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวีระศักดิ์ ดารากัย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด