กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ


“ โครงการการออกกำลังกายทางกายภาพบำบัดในผู้ป่วยปวดหลังเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2567 ”

โรงพยาบาลควนโดน

หัวหน้าโครงการ
นางใดฮานา สาอีซา

ชื่อโครงการ โครงการการออกกำลังกายทางกายภาพบำบัดในผู้ป่วยปวดหลังเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ โรงพยาบาลควนโดน จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L5284-01-09 เลขที่ข้อตกลง สปสช 21/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 กันยายน 2567 ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการออกกำลังกายทางกายภาพบำบัดในผู้ป่วยปวดหลังเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลควนโดน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการออกกำลังกายทางกายภาพบำบัดในผู้ป่วยปวดหลังเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการออกกำลังกายทางกายภาพบำบัดในผู้ป่วยปวดหลังเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลควนโดน รหัสโครงการ 67-L5284-01-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 กันยายน 2567 - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)     กลุ่มอาการปวดหลัง เป็นกลุ่มอาการที่พบได้บ่อยในโรคระบบกล้ามเนื้อและโครงสร้างของร่างกาย ส่งผลให้เกิดความทุกข์ทรมาน ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ รวมทั้งยังส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมอีกด้วย และมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นในทุกปี นอกจากนี้ยังมีรายงานการศึกษาภาระโรคและการบาดเจ็บขององค์การอนามัยโลก พบว่า อาการปวดหลังเป็นปัญหาสุขภาพจากการทำงานที่มีสัดส่วนสูงที่สุด คือ ร้อยละ37 ของภาระโรคและการบาดเจ็บรวมทั้งหมด สำหรับประเทศไทย พบว่ามีผู้ป่วยโรคปวดหลังจากการประกอบอาชีพ ร้อยละ 71.34 และจากการศึกษาภาระโรคปวดหลังในผู้ประกอบอาชีพ พบว่ามีผู้ป่วยโรคปวดหลังทุกชนิดพบว่ามี 52 ราย ต่อผู้ประกอบอาชีพ 1,000 ราย หากแบ่งตามตำแหน่งของพยาธิสภาพของกระดูกสันหลังสามารถพบอาการปวดหลังส่วนล่างได้มากที่สุด คือร้อยละ 33.29 ของผู้ป่วยโรคปวดหลังทุกชนิด และจากการศึกษาของ Qaseem และคณะ พบว่าประมาณ 1 ใน 4 ของผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังส่วนล่างจะพัฒนาไปสู่ปัญหาปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง นั้นคืออาการปวดอยู่นานกว่า 3 เดือน6     อย่างไรก็ตามการดูแลผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังส่วนล่างเรื้อรังนั้นสามารถช่วยให้ผู้ป่วยไม่ทุกข์ทรมานจากอาการปวดได้ด้วยการฟื้นฟูสมรรถภาพ โดยการส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการดูแลตนเองในการดำเนินชีวิตประจำวัน และบริหารร่างกายหรือการออกกำลังกาย รวมทั้งการมีกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม เพื่อเพิ่มความแข็งแรง ความยืนหยุ่นและความทนทานของกล้ามเนื้อหลัง ส่งผลให้โครงสร้างของหลัง มีความมั่นคงและสามารถควบคุมอาการปวดได้ การฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วยที่มีอาการปวดหลังส่วนล่างเรื้อรังจึงเป็นเรื่องที่มีความท้าทายในการดูแลทางด้านสาธารณสุขสำหรับระบบการดูแลสุขภาพเกี่ยวกับโรคเรื้อรัง โดยเน้นการป้องกัน และการส่งเสริมให้ผู้ป่วยและญาติสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ (วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา)
    แผนกกายภาพบำบัดโรงพยาบาลควนโดนตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องนี้ จึงอยากเผยแพร่ความรู้และจัดการกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพโดยสอนวิธีการออกกำลังกายและบริหารทางกายภาพบำบัดให้แก่ผู้ที่มีภาวะปวดหลังเรื้อรัง ซึ่งเป็นแนวทางที่สามารถช่วยลดภาวะความเจ็บป่วยและลดการเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาล โดยผู้ป่วยสามารถทำได้ด้วยตนเอง เพื่อให้สามารถเพิ่มคุณภาพชีวิตให้ดียิ่งขึ้นและใช้ชีวิตได้ใกล้เคียงปกติมากที่สุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ ข้อที่1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันภาวะปวดหลังได้ ข้อที่2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำวิธีการต่างๆมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ ข้อที่3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเผยแพร่ความรู้ และวิธีการต่างๆเพื่อป้องกันภาวะปวดหลังให้แก่ผู้อื่นได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 20
    กลุ่มผู้สูงอายุ 30
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.กลุ่มผู้ป่วยปวดหลังเรื้อรัง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันภาวะปวดหลังได้ 2.กลุ่มผู้ป่วยปวดหลังเรื้อรัง สามารถออกกำลังกายเพื่อป้องกันและลดภาวะปวดหลังได้ 3.กลุ่มผู้ป่วยปวดหลังเรื้อรัง สามารถนำความรู้และท่าทางการออกกำลังกายไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ 4.กลุ่มผู้ป่วยปวดหลังเรื้อรัง สามารถเผยแพร่ความรู้ และท่าทางการออกกำลังกายแก่ผู้อื่นได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 วัตถุประสงค์ ข้อที่1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันภาวะปวดหลังได้ ข้อที่2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำวิธีการต่างๆมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ ข้อที่3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเผยแพร่ความรู้ และวิธีการต่างๆเพื่อป้องกันภาวะปวดหลังให้แก่ผู้อื่นได้
    ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1.ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันภาวะปวดหลังได้ 2.ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงสามารถออกกำลังกายเพื่อป้องกันภาวะปวดหลังได้ ตัวชี้วัด 3.ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเผยแพร่ความรู้ และท่าทางการออกกำลังกายเพื่อป้องกันภาวะปวดหลังได้

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 20
    กลุ่มผู้สูงอายุ 30
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันภาวะปวดหลังได้ ข้อที่2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำวิธีการต่างๆมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ ข้อที่3. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเผยแพร่ความรู้ และวิธีการต่างๆเพื่อป้องกันภาวะปวดหลังให้แก่ผู้อื่นได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการการออกกำลังกายทางกายภาพบำบัดในผู้ป่วยปวดหลังเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2567 จังหวัด

    รหัสโครงการ 67-L5284-01-09

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางใดฮานา สาอีซา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด