กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยด้วยท่ากายบริหารและมณีเวช ”

โรงพยาบาลควนโดน

หัวหน้าโครงการ
นางสาวปารียา อุสมา

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยด้วยท่ากายบริหารและมณีเวช

ที่อยู่ โรงพยาบาลควนโดน จังหวัด

รหัสโครงการ 67-L5284-01-10 เลขที่ข้อตกลง สปสช.22/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 กันยายน 2567 ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยด้วยท่ากายบริหารและมณีเวช จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลควนโดน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยด้วยท่ากายบริหารและมณีเวช



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยด้วยท่ากายบริหารและมณีเวช " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลควนโดน รหัสโครงการ 67-L5284-01-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 กันยายน 2567 - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)     ปัจจุบันประเทศไทยกลายเป็นสังคมสูงวัยจากแนวโน้มของผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นทุกๆปี โดยเฉพาะปี 2566 ที่สังคมไทยเริ่มสู่การเป็นสังคมผู้สูงวัยอย่างสมบูรณ์ ด้วยจำนวนประชากรที่มีอายุเกิน 60 ปี จำนวนมากเกือบ 20% ของประชากรทั้งหมด การสำรวจสุขภาพประชาชนไทย ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2557 พบว่าพบว่าโรคที่มักพบในผู้สูงอายุ ได้แก่ข้ออักเสบ/ข้อเสื่อม โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน และโรคอ้วน นอกจากนี้ยังส่งผลให้เกิดปัญหาการขึ้นลงบันได การทรงตัว การกลั้นอุจจาระหรือปัสสาวะไม่ได้ ดังนั้นการดูแลผู้สูงอายุจึงเป็นเรื่องสำคัญควรมีการดูแลส่งเสริมและพัฒนาผู้สูงอายุเพื่อลดการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังให้พึ่งพาตนเองได้และปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้อย่างปกติ ดังนั้น ท่ากายบริหารเพื่อการออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุถือเป็นสิ่งจำเป็นส่งเสริมให้เกิดสุขภาพจิตที่ดี ท่ากายบริหารเพื่อการออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุถือเป็นสิ่งจำเป็นส่งเสริมให้เกิดสุขภาพจิตที่ดี ช่วยชะลอความถดถอยของสมรรถภาพร่างกาย ช่วยลดน้ำหนัก เพิ่มมวลกล้ามเนื้อและคงความหนาแน่นของกระดูก อีกทั้งป้องกันและบำบัดโรคเรื้อรัง รวมถึงโรคประจำตัว เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เป็นต้น ส่วนศาสตร์มณีเวชเป็นวิชาเกี่ยวกับการจัดสมดุลโครงสร้างของร่างกายที่คิดค้นโดย อาจารย์ประสิทธิ์ มณีจิระประการ ที่ผสมผสานวิชาการแพทย์แผนไทย จีน และอินเดียมาพัฒนาต่อยอดและพัฒนามาใช้ในการรักษาที่เป็นของไทย ซึ่งเป็นท่าบริหารง่ายๆ ที่ใช้เวลาไม่มากในการบริหาร และทำได้สะดวกทั้งที่บ้านและที่ทำงาน โดยท่าบริหารเหล่านั้นจะช่วยจัดสมดุลให้โครงสร้างกระดูกในร่างกาย (นภดล นิงสานนท์) เนื่องจาก3อันดับโรคสำคัญทางกายภาพบำบัดประจำปี2566 ของแผนกกายภาพบำบัดโรงพยาบาลควนโดน อันดับ1คือ Myalgia โรคที่มีอาการปวดกล้ามเนื้อ,โรคหลอดเลือดสมองและข้อเข่าเสื่อม ตามลำดับ     ทางแผนกกายภาพบำบัดโรงพยาบาลควนโดนจึงตระหนักถึงความสำคัญในเรื่องนี้ จึงอยากเผยแพร่ความรู้และจัดการกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้อายุด้วยท่ากายบริหารและมณีเวช ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่สามารถรักษาสมดุลระบบต่าง ๆ ในร่างกายให้ทำงานปกติ ซึ่งทุกคนสามารถทำด้วยตนเอง เพื่อผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีและสามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันต่างๆ ได้เหมือนเดิม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับท่ากายบริหารและมณีเวชได้อย่างถูกต้อง ข้อที่2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถฝึกปฏิบัติท่ากายบริหารและมณีเวชได้อย่างถูกต้อง ข้อที่3.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเผยแพร่ท่ากายบริหารและมณีเวชได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 10
    กลุ่มผู้สูงอายุ 40
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับท่ากายบริหารและมณีเวช 2.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถฝึกปฏิบัติท่ากายบริหารและมณีเวช 3.ผู้เข้าร่วมโครงการ สามารถเผยแพร่ท่ากายบริหารและมณีเวชแก่ผู้อื่นได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับท่ากายบริหารและมณีเวชได้อย่างถูกต้อง ข้อที่2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถฝึกปฏิบัติท่ากายบริหารและมณีเวชได้อย่างถูกต้อง ข้อที่3.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเผยแพร่ท่ากายบริหารและมณีเวชได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ 1.ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับท่ากายบริหารและมณีเวชอย่างถูกต้อง 2.ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถฝึกปฏิบัติท่ากายบริหารและมณีเวชได้อย่างถูกต้อง 3.ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเผยแพร่ความรู้ ท่ากายบริหารและมณีเวชได้อย่างถูกต้อง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 10
    กลุ่มผู้สูงอายุ 40
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับท่ากายบริหารและมณีเวชได้อย่างถูกต้อง ข้อที่2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถฝึกปฏิบัติท่ากายบริหารและมณีเวชได้อย่างถูกต้อง ข้อที่3.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถเผยแพร่ท่ากายบริหารและมณีเวชได้อย่างถูกต้อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยด้วยท่ากายบริหารและมณีเวช จังหวัด

    รหัสโครงการ 67-L5284-01-10

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวปารียา อุสมา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด