กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ


“ โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องสารเคมีในเกษตรกรและกลุ่มเสี่ยง ”

ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายบือราเฮง เจ๊ะมู

ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องสารเคมีในเกษตรกรและกลุ่มเสี่ยง

ที่อยู่ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2567 ถึง 31 ตุลาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องสารเคมีในเกษตรกรและกลุ่มเสี่ยง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องสารเคมีในเกษตรกรและกลุ่มเสี่ยง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องสารเคมีในเกษตรกรและกลุ่มเสี่ยง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2567 - 31 ตุลาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,950.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.เกะรอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชนอกจากจะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมแล้วยังก่อให้เกิดปัญหาการได้รับสารพิษเข้าสู่ร่างกายของเกษตรกรผู้ใช้ และยังมีสารพิษตกค้างในผลผลิตทางการเกษตรอีกด้วย การใช้สารเคมีทางการเกษตรนานๆจะทำให้พืชผักมีพิษตกค้างจำนวนมาก ก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพของผู้บริโภค ส่งผลให้อัตราป่วยของโรคจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชเพิ่มสูงขึ้น สารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่เข้าไปละสมจะไปทำลายอวัยะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตา ซึ่งขึ้นอยู่กับว่าจะรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่แล้วการทีอวัยะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงชีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้ จนแสดงอาการต่างๆขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือด และระบบภูมิคุ้มกัน เป็นต้น ซึ่งพฤติกรรมการใช้สารเคมีที่ไม่ปลอดภัยนั้น ทำให้เกษตรกรผู้อาศัยในชุมชนและผู้บริโภคมีความเสี่ยงจากการได้รับอันตรายจากสารเคมี กำจัดศัตรูพืชเพิ่มขึ้น ในส่วนขิงการตรวจวิเคราะห์สารพวกออรักาโนฟอสหรือคาร์บาเมท จากอวัยะต่างๆ หรือจากเลือดมักจะได้ผลไม่ดี เนื่องจากสารพิษเหล่านั้นจะเกิดการเปลี่ยนแปลงในร่างกายอย่างรวดเร็ว โดยเกิดปฎิกิริยาทางเคมีหลายอย่างจึงนิยมใช้วิธีตรวจหาระดับของอนโซมโคลีนเอสเตอเรส(cholinesterase Enzyme) ในเลือดและอวัยะต่างๆเป็นการ ยืนยันการเป็นพิษแทน เพราะสารเคมีทั้งสองกลุ่มนี้มีความส้มพันธ์เกี่ยวโยงกับเอนโซงโคลีนเอสเตอเรส(cholinesterase Enzyme) ซึ่งสามารถตรวจเอนโซงโคลีนเอสเตอเรส(cholinesterase Enzyme) ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกร โดยมีพื้นที่ที่ในการเกษตรถึงร้อยละ 80 ของพื้นที่ทั้งหมด ผลกระทบจากการใช้สาเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืช จึงกระจายและขยายเป็นวงกว้าง ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเก๊ะรอจึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพและเกษตรกรในพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองสารเคมีในเลือดเกษตรกรและกลุ่มเสี่ยง ประจำปี 2567 ขึ้นเพื่อให้ประชาชนและเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ ได้รับการตรวจสุขภาพและเจาะเลือดเพื่อดูว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใดเพื่อทำการเฝ้าระวังต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อตรวจหาระดับสารเคมีตกค้างในเลือดของประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการใช้/ได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืช 2. เพื่อเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการใช้/ได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืช 3.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงจากการใช้/ได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ได้ทราบผลการตรวจว่าอยู่ในระดับใด ปละสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
  2. 2. เพื่อเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการใช้/ได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
  3. 3.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงจากการใช้/ได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ได้ทราบผลการตรวจว่าอยู่ในระดับใด ปละสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องสารเคมีในเกษตกรและกลุ่มเสี่ยง
  2. โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องสารเคมีในเกษตรกรและกลุ่มเสี่ยง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และเข้าและใจอันตรายจากการสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ร่วมไปถึงสามารถป้องกันตัวเองได้หากมีการสัมผัสหรือใกล้ชิดกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชผู้เข้าร่วมโครงการได้รู้ผลว่าระดับสารเคมีในเลือดของตนเองว่าอยู่ในระดับใด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องสารเคมีในเกษตรกรและกลุ่มเสี่ยง

วันที่ 1 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชาสัมพันธ์โครงการ 2.กิจกรรมอบรมให้ความสารเคมี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และเข้าและใจอันตรายจากการสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ร่วมไปถึงสามารถป้องกันตัวเองได้หากมีการสัมผัสหรือใกล้ชิดกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชผู้เข้าร่วมโครงการได้รู้ผลว่าระดับสารเคมีในเลือดของตนเองว่าอยู่ในระดับใด

 

0 0

2. อบรมให้ความรู้เรื่องสารเคมีในเกษตกรและกลุ่มเสี่ยง

วันที่ 1 กรกฎาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชาสัมพันธ์โครงการ 2.กิจกรรมอบรมให้ความสารเคมี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้และเข้าและใจอันตรายจากการสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ร่วมไปถึงสามารถป้องกันตัวเองได้หากมีการสัมผัสหรือใกล้ชิดกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืชผู้เข้าร่วมโครงการได้รู้ผลว่าระดับสารเคมีในเลือดของตนเองว่าอยู่ในระดับใด

 

118 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อตรวจหาระดับสารเคมีตกค้างในเลือดของประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการใช้/ได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืช 2. เพื่อเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการใช้/ได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืช 3.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงจากการใช้/ได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ได้ทราบผลการตรวจว่าอยู่ในระดับใด ปละสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 100 ของประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองเพื่อคันสารเคมีตกค้างในเลือด
100.00

 

2 2. เพื่อเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการใช้/ได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละ 100 ของประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้และเข้าใจอันตรายจากการสารเคมีกำจัดศัตรูพืช รวมไปถึงสามารถป้องกันตัวเองได้หากมีการสัมผัสหรือใกล้ชิดกับสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
100.00

 

3 3.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงจากการใช้/ได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ได้ทราบผลการตรวจว่าอยู่ในระดับใด ปละสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
ตัวชี้วัด : 3.ร้อยละ 100 ของประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รู้ผลว่าระดับสารเคมีในเลือดของตนเองว่าอยู่ในระดับใด
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อตรวจหาระดับสารเคมีตกค้างในเลือดของประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการใช้/ได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืช  2. เพื่อเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการใช้/ได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืช 3.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงจากการใช้/ได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ได้ทราบผลการตรวจว่าอยู่ในระดับใด ปละสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย (2) 2. เพื่อเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของประชากรกลุ่มเสี่ยงจากการใช้/ได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืช (3) 3.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงจากการใช้/ได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ได้ทราบผลการตรวจว่าอยู่ในระดับใด ปละสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเองได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องสารเคมีในเกษตกรและกลุ่มเสี่ยง (2) โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องสารเคมีในเกษตรกรและกลุ่มเสี่ยง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องสารเคมีในเกษตรกรและกลุ่มเสี่ยง จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายบือราเฮง เจ๊ะมู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด