กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการแกนนำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพ ต้านภัยโรคระบาด
รหัสโครงการ 67-L4156-02-06
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลเกะรอ
วันที่อนุมัติ 23 พฤษภาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2567
งบประมาณ 16,725.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายมูฮัมหมัด สาและ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเกะรอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.535,101.576place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 12 ก.ค. 2567 12 ก.ค. 2567 16,725.00
รวมงบประมาณ 16,725.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 105 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 105 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคติดต่อนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะโรคติดต่อที่ทำให้เกิดความสูญเสียแก่ชีวิตค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคมาโดยตลอด และได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างทั้งภาครัฐและเอกชน พบว่าปัญหาโรคติดต่อมีแนวโน้มสูงขึ้น ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา โรคติดต่อเป็นโรคที่จะต้องมีการเฝ้าระวัง และควบคุมป้องกันโรคไม่ให้มีการแพร่กระจาย โดยเฉพาะในสถานศึกษา การป้องกันโรคติดเชื้อในสถานศึกษา นับว่าเป็นสิ่งสำคัญเพราะในสถานศึกษามีกลุ่มคนเป็นกลุ่มก้อน เมื่อมี โรคระบาดหรือโรคติดต่อ จะทำให้กระทบกับระบบการเรียนการสอน และจะต้องหยุดเรียนเป็นเวลานาน การป้องกันก่อนการเกิดโรคเป็นสิ่งที่ดีเป็นการป้องกันไม่ให้มีการระบาดของโรคเป็นจำนวนมากขึ้น ซึ่งโรคติดต่อที่จะต้องมีการเฝ้าระวังและป้องกันในสถานศึกษา ได้แก่ โรคมือเท้าปาก โรคสุกใส โรคตาแดง โรคไข้หวัดใหญ่ โรคไข้เลือดออก เป็นต้น
การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในสถานศึกษา ต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นให้นักเรียน เห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกัน และต้องมีความรู้ ความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคสถานศึกษา ดังนั้นชมรมอสม.ตำบลเกะรอ จึงได้จัดทำโครงการ แกนนำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพต้านภัยโรคระบาด เพื่อให้นักเรียน ได้มีความรู้ในการป้องกันและควบคุมโรค เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อในโรงเรียน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ในการป้องกัน และควบคุมโรคในครัวเรือน และในชุมชน ได้ ส่งผลให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ปลอดภัยจากโรคติดต่อ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณต.ค. 66พ.ย. 66ธ.ค. 66ม.ค. 67ก.พ. 67มี.ค. 67เม.ย. 67พ.ค. 67มิ.ย. 67ก.ค. 67ส.ค. 67ก.ย. 67
1 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกแก่แกนนำนักเรียน(8 ส.ค. 2567-8 ส.ค. 2567) 16,725.00                        
รวม 16,725.00
1 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกแก่แกนนำนักเรียน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 105 16,725.00 1 16,725.00 0.00
8 ส.ค. 67 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกแก่แกนนำนักเรียน 105 16,725.00 16,725.00 0.00
รวมทั้งสิ้น 105 16,725.00 1 16,725.00 0.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ร้อยละ 100 นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
  2. ร้อยละ 90 ลดแหล่งเพาะพันธ์โรค และทำลายแหล่งโรคได้
  3. ร้อยละ 90 ลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อได้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 23 พ.ค. 2567 15:24 น.