โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ รพ.สต.บ้านทุ่งมะขาม ประจำปี 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ รพ.สต.บ้านทุ่งมะขาม ประจำปี 2567 ”
ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายนคร กาเหย็ม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้
มีนาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ รพ.สต.บ้านทุ่งมะขาม ประจำปี 2567
ที่อยู่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L8402-1-18 เลขที่ข้อตกลง 18/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 มีนาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ รพ.สต.บ้านทุ่งมะขาม ประจำปี 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ รพ.สต.บ้านทุ่งมะขาม ประจำปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ รพ.สต.บ้านทุ่งมะขาม ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L8402-1-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 31 มีนาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,290.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สมาพันธ์เบาหวานนานาชาติได้กำหนดให้วันที่ 14 พฤศจิกายนของทุกปี เป็นวันเบาหวานโลก และในปี พ.ศ. 2566 ได้รับข้อมูลจาก IDF Diabetes Atlas ทั่วโลกมีผู้ป่วยโรคเบาหวานมากถึง 537 ล้านคน มากกว่า 90% เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 เกือบครึ่งหนึ่งยังไม่ได้รับการวินิจฉัย คาดว่าภายในปี 2573 จะเพิ่มขึ้นเป็น 643 ล้านคน และภายในปี 2588 จะเพิ่มมากถึง 783 ล้านคน ปัจจัยเสี่ยงโรคเบาหวานเกิดจากการมีประวัติครอบครัวเป็นโรคเบาหวาน มีภาวะอ้วน น้ำหนักเกิน รอบเอวเกิน เป็นโรคความดันโลหิตสูง ชอบรับประทานอาหารรสหวาน มีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ สูบบุหรี่ และดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ สถานการณ์โรคเบาหวานในประเทศไทย ข้อมูลจากรายงานสถิติสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข ประเทศไทยพบอุบัติการณ์โรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในปี 2566 มีผู้ป่วยรายใหม่ เพิ่มขึ้น 3 แสนคนต่อปี ในปี พ.ศ. 2565 มีผู้ป่วยโรคเบาหวานสะสมจำนวน 3.3 ล้านคนเพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2564 มากถึง 1.5 แสนคน สำหรับการคัดกรองผู้ป่วยรายใหม่ในปี 2566 พบว่า การคัดกรองผู้ป่วยโรคเบาหวานในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ยังไม่ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานมากถึง 5 ล้านคนจากเป้าหมายทั่วประเทศ 22 ล้านคน
นายแพทย์เฉลิมพล โอสถพรมมา ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา กล่าวว่า ประเทศไทยมีแนวโน้มพบผู้ป่วยโรคเบาหวานสูงขึ้น จากระบบข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ Health Data Center (HDC) ปีงบประมาณ 2564-2566 ประเทศไทยพบอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน 7,010, 7,336 และ 7,692 ต่อประชากรแสนคน สำหรับเขตพื้นที่สุขภาพที่ 12 มีแนวโน้มสูงขึ้นเช่นกัน พบอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน 4,980, 5,148 และ 5,396 โดยในปีงบประมาณ 2566 ( ณ 30 ก.ย. 66) อัตราป่วยสูงสุดในจังหวัดพัทลุง 7,555 รองลงมา คือ ตรัง 6,820 สงขลา 6,219 สตูล 5,035 นราธิวาส 4,251 ยะลา 3,909 และปัตตานี 3,745
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งมะขาม มีประชากรกลุ่มเป้าหมายอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป จำนวน ๑,933 คน มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 277 ราย เพิ่มขึ้นจากปี ๒๕๖5 จำนวน 8 ราย ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 545 ราย เพิ่มขึ้นจากปี ๒๕๖5 จำนวน 2 ราย (ฐานข้อมูล HDC รพ.สต.ทุ่งมะขาม, ๒๕๖6) จึงได้เห็นปัญหา ภาวะสุขภาพของประชาชนที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพ จิตใจ สังคม และเศรษฐกิจในครอบครัว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงกับประชาชนพื้นที่ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งมะขาม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น
- เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูง
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อน ทางตา ไต และเท้า
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
78
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
280
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
51
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังได้รับความรู้และทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์
๒.อัตราป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงลดลง
๓.ลดอัตราการป่วยและความพิการจากโรคเรื้อรัง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการดำเนินกิจกรรมประชุมคณะกรรมการ จำนวน 78 คน เพื่อชี้แจงแผนงาน โครงการ และสถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง พร้อมทั้งอบรมฟื้นฟูความรู้เกี่ยวกับการใช้เครื่องมือในการตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย และประชาสัมพันธ์โครงการผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ นัดกลุ่มเสี่ยงเพื่อเข้าร่วม "เสริมพลังและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ" ทั้งหมด จำนวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย โดยมีกิจกรรม ดังนี้
1. กิจกรรมวัดองค์ประกอบของร่างกาย
2. กิจกรรมตรวจคัดกรองน้ำตาลปลายนิ้วมือก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรม
3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แลกเปลี่ยนข้อมูล จากวิทยากรสำนักงานสาธารณสุขอำเภอรัตภูมิ
จากนั้นติดตามค่าน้ำตาลปลายนิ้วมือ และค่าความดันโลหิตซ้ำทุกๆ 1, 3 และ 6 เดือน พบว่ากลุ่มเสี่ยงมีระดับน้ำตาลในเลือดลดลงหลังเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 41.18 และในผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา จำนวน 239 คน คิดเป็นร้อยละ 79.14 ทางไต จำนวน 179 คิดเป็นร้อยละ 59.27 และทางเท้า จำนวน 275 คน คิดเป็นร้อยละ 91.06
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
50.00
50.00
กลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
2
เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงมีระดับน้ำตาลในเลือดลดลงหลังเข้าร่วมกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
70.00
70.00
กลุ่มเสี่ยงมีระดับน้ำตาลในเลือดลดลงหลังเข้าร่วมกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
3
เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
80.00
80.00
อัตราป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
4
ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อน ทางตา ไต และเท้า
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต และเท้า
80.00
80.00
ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต และเท้า
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
409
409
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
78
78
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
280
280
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
51
51
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น (3) เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูง (4) ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อน ทางตา ไต และเท้า
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ รพ.สต.บ้านทุ่งมะขาม ประจำปี 2567 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L8402-1-18
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายนคร กาเหย็ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ รพ.สต.บ้านทุ่งมะขาม ประจำปี 2567 ”
ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายนคร กาเหย็ม
มีนาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L8402-1-18 เลขที่ข้อตกลง 18/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 มีนาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ รพ.สต.บ้านทุ่งมะขาม ประจำปี 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ รพ.สต.บ้านทุ่งมะขาม ประจำปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ รพ.สต.บ้านทุ่งมะขาม ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคูหาใต้ อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L8402-1-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 31 มีนาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,290.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคูหาใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สมาพันธ์เบาหวานนานาชาติได้กำหนดให้วันที่ 14 พฤศจิกายนของทุกปี เป็นวันเบาหวานโลก และในปี พ.ศ. 2566 ได้รับข้อมูลจาก IDF Diabetes Atlas ทั่วโลกมีผู้ป่วยโรคเบาหวานมากถึง 537 ล้านคน มากกว่า 90% เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 เกือบครึ่งหนึ่งยังไม่ได้รับการวินิจฉัย คาดว่าภายในปี 2573 จะเพิ่มขึ้นเป็น 643 ล้านคน และภายในปี 2588 จะเพิ่มมากถึง 783 ล้านคน ปัจจัยเสี่ยงโรคเบาหวานเกิดจากการมีประวัติครอบครัวเป็นโรคเบาหวาน มีภาวะอ้วน น้ำหนักเกิน รอบเอวเกิน เป็นโรคความดันโลหิตสูง ชอบรับประทานอาหารรสหวาน มีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ สูบบุหรี่ และดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ สถานการณ์โรคเบาหวานในประเทศไทย ข้อมูลจากรายงานสถิติสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข ประเทศไทยพบอุบัติการณ์โรคเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในปี 2566 มีผู้ป่วยรายใหม่ เพิ่มขึ้น 3 แสนคนต่อปี ในปี พ.ศ. 2565 มีผู้ป่วยโรคเบาหวานสะสมจำนวน 3.3 ล้านคนเพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2564 มากถึง 1.5 แสนคน สำหรับการคัดกรองผู้ป่วยรายใหม่ในปี 2566 พบว่า การคัดกรองผู้ป่วยโรคเบาหวานในประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ยังไม่ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานมากถึง 5 ล้านคนจากเป้าหมายทั่วประเทศ 22 ล้านคน
นายแพทย์เฉลิมพล โอสถพรมมา ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา กล่าวว่า ประเทศไทยมีแนวโน้มพบผู้ป่วยโรคเบาหวานสูงขึ้น จากระบบข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ Health Data Center (HDC) ปีงบประมาณ 2564-2566 ประเทศไทยพบอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน 7,010, 7,336 และ 7,692 ต่อประชากรแสนคน สำหรับเขตพื้นที่สุขภาพที่ 12 มีแนวโน้มสูงขึ้นเช่นกัน พบอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน 4,980, 5,148 และ 5,396 โดยในปีงบประมาณ 2566 ( ณ 30 ก.ย. 66) อัตราป่วยสูงสุดในจังหวัดพัทลุง 7,555 รองลงมา คือ ตรัง 6,820 สงขลา 6,219 สตูล 5,035 นราธิวาส 4,251 ยะลา 3,909 และปัตตานี 3,745
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งมะขาม มีประชากรกลุ่มเป้าหมายอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป จำนวน ๑,933 คน มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 277 ราย เพิ่มขึ้นจากปี ๒๕๖5 จำนวน 8 ราย ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 545 ราย เพิ่มขึ้นจากปี ๒๕๖5 จำนวน 2 ราย (ฐานข้อมูล HDC รพ.สต.ทุ่งมะขาม, ๒๕๖6) จึงได้เห็นปัญหา ภาวะสุขภาพของประชาชนที่อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพ จิตใจ สังคม และเศรษฐกิจในครอบครัว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชน เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงกับประชาชนพื้นที่ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งมะขาม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น
- เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูง
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อน ทางตา ไต และเท้า
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 78 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 280 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 51 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.กลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังได้รับความรู้และทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ๒.อัตราป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงลดลง ๓.ลดอัตราการป่วยและความพิการจากโรคเรื้อรัง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
จากการดำเนินกิจกรรมประชุมคณะกรรมการ จำนวน 78 คน เพื่อชี้แจงแผนงาน โครงการ และสถานการณ์โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง พร้อมทั้งอบรมฟื้นฟูความรู้เกี่ยวกับการใช้เครื่องมือในการตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย และประชาสัมพันธ์โครงการผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ นัดกลุ่มเสี่ยงเพื่อเข้าร่วม "เสริมพลังและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ" ทั้งหมด จำนวน 51 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมาย โดยมีกิจกรรม ดังนี้ 1. กิจกรรมวัดองค์ประกอบของร่างกาย 2. กิจกรรมตรวจคัดกรองน้ำตาลปลายนิ้วมือก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรม 3. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แลกเปลี่ยนข้อมูล จากวิทยากรสำนักงานสาธารณสุขอำเภอรัตภูมิ จากนั้นติดตามค่าน้ำตาลปลายนิ้วมือ และค่าความดันโลหิตซ้ำทุกๆ 1, 3 และ 6 เดือน พบว่ากลุ่มเสี่ยงมีระดับน้ำตาลในเลือดลดลงหลังเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 41.18 และในผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนทางตา จำนวน 239 คน คิดเป็นร้อยละ 79.14 ทางไต จำนวน 179 คิดเป็นร้อยละ 59.27 และทางเท้า จำนวน 275 คน คิดเป็นร้อยละ 91.06
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ |
50.00 | 50.00 | กลุ่มเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ |
|
2 | เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงมีระดับน้ำตาลในเลือดลดลงหลังเข้าร่วมกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ |
70.00 | 70.00 | กลุ่มเสี่ยงมีระดับน้ำตาลในเลือดลดลงหลังเข้าร่วมกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ |
|
3 | เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : อัตราป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ลดลง |
80.00 | 80.00 | อัตราป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ลดลง |
|
4 | ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อน ทางตา ไต และเท้า ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต และเท้า |
80.00 | 80.00 | ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต และเท้า |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 409 | 409 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 78 | 78 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 280 | 280 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 51 | 51 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น (3) เพื่อลดอัตราป่วยรายใหม่ของโรคเบาหวานและ โรคความดันโลหิตสูง (4) ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อน ทางตา ไต และเท้า
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ รพ.สต.บ้านทุ่งมะขาม ประจำปี 2567 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L8402-1-18
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายนคร กาเหย็ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......