กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยในช่องปากและฟัน ปี 2567 ”
ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางมารีดา ฮัจญีหมัดสกุล




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยในช่องปากและฟัน ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2535-01-23 เลขที่ข้อตกลง 22/67

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยในช่องปากและฟัน ปี 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยในช่องปากและฟัน ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยในช่องปากและฟัน ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L2535-01-23 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,130.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพฟันในกลุ่มเด็ก และผู้สูงอายุ นับว่าเป็นปัญหาสำคัญของประชาชนส่วนใหญ่ กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน เป็นวัยที่ชอบเล่น ชอบกินอาหารจำพวกขนมกรุบกรอบ อาหารจุบจิบ และไม่ชอบให้ผู้ปกครองจับมาแปรงฟัน จากผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากในเด็กอายุ 0-3 ปีของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ปาเสมัส ที่เข้ารับการรับการตรวจฟัน ปี 2565 พบว่าเด็กอายุ 0-3 ปีมีฟันผุเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 74.13 ซึ่งจัดอยู่ในระดับสูง ทั้งนี้การที่เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดีได้ ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กควรมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องทันตสุขภาพ และได้รับการป้องกันโรคฟันผุอย่างครอบคลุม เพื่อช่วยให้เด็กมีฟันเคี้ยวอาหาร มีพัฒนาการสมวัย และอีกหนึ่งกลุ่มวัยผู้สูงอายุ เป็นอีกวัยหนึ่งที่ต้องให้ความสำคัญเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปาก เนื่องจากอัตราการเกิดที่น้อยลง ทำให้ผู้สูงอายุมีปัญหาสุขภาพหลายอย่าง เนื่องจากโรคที่เกิดในผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีความสำคัญกับการลุกลามของโรค เช่น โรคปริทันต์กับเบาหวาน ปัญหาการสูญเสียฟันกับโรคท้องผูก ทำให้ต้องมีการส่งเสริมสุขภาพในวัยนี้ด้วย รวมถึงคนส่วนใหญ่มักเข้าใจว่าการควรส่งเสริมสุขภาพช่องปากในวัยเด็กเท่านั้น แต่ความจริงแล้ววัยผู้สูงอายุก็มีความสำคัญเช่นเดียวกัน เพราะเมื่อร่างกายมีอายุมากขึ้น ระบบการทำงานของอวัยวะในร่างกาย ก็จะเสื่อมสภาพตาม รวมทั้งเหงือกและฟันที่อยู่ในช่องปากด้วย ดังนั้นเพื่อสุขภาวะช่องปากที่ดีขึ้นของคนในชุมชน ทางกลุ่มงานทันตสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปาเสมัสได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาสุขภาพช่องปากที่พบและต้องร่วมกันแก้ไขปัญหา จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยในช่องปากและฟัน ปี 2567เพื่อกระตุ้นให้เกิดพฤติกรรมการดูแล สุขภพช่องปากที่ดี ทั้งเด็กและผู้สูงวัยต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถเลือกแปรงสีฟันและวิธีการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
  3. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคฟันผุในเด็กอายุ 0-3 ปี
  4. เพื่อให้เด็กอายุ ๐-๓ ปี ที่มารับบริการในคลินิกเด็กดีได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพช่องปากอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน 50 คน
  2. กิจกรรมการส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กอายุ 0-3 ปี (คลินิกสุขภาพเด็กดี)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 300
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากเพิ่มขึ้น ๒. ผู้สูงอายุสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการแปรงฟัน และเข้าถึงการรับบริการทันตกรรม ๓. อัตราการเกิดโรคฟันผุในเด็ก ๐-๓ ปีลดลง ๔. เกิดการมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากที่ดีภายในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน 50 คน

วันที่ 12 กันยายน 2567 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

๑.ขั้นเตรียมการ ๑.๑ ประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดทำโครงการ ๑.๒ จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ ๑.3 จัดเตรียมหลักสูตรในการจัดอบรม ๑.4 เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ข้อมูล และเอกสารในการดำเนินกิจกรรม 1.5 ดำเนินการจัดอบรมตามโครงการ 1.6 สรุปผลการดำเนินงานตามโครงการ ๒.ขั้นดำเนินการ ๒.๑ กิจกรรมที่ ๑ การส่งเสริมและป้องกันโรคในช่องปากของกลุ่มผู้สูงอายุ
๒.๑.1 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้ความรู้เรื่อง การเปลี่ยนแปลงสภาวะช่องปากของผู้สูงอายุ รอยโรคในช่องปากปัญหาสุขภาพช่องปากที่พบในผู้สูงอายุ และการดูแลสุขภาพช่องปากของผู้สูงอายุ
๒.๑.๒ สาธิตและฝึกปฏิบัติการแปรงฟันจริงในผู้สูงอายุ
๒.๑.3 ตรวจฟัน ทาฟลูออไรด์วานิชให้แก่ผู้สูงอายุในรายที่มีฟันถาวร เพื่อป้องกันรากฟันผุ

๒.3 กิจกรรมที่ 2 การส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กอายุ 0-3 ปี (คลินิกสุขภาพเด็กดี)
๒.3.๑ ตรวจสุขภาพช่องปากเด็กอายุ ๐-๓ ปีที่มารับบริการในคลินิกเด็กดี ๒.3.๒ ฝึกทักษะผู้ปกครองในการแปรงฟันแบบถูไปถูมา (Horizontal scrub technique) ใน     คลินิกสุขภาพเด็กดีและในชุมชน 2.3.3 ทาฟลูออไรด์วานิชในคลินิกสุขภาพเด็กดีและในชุมชน

กิจกรรมที่ ๑ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน 50 คน - ค่าสัมมนาคุณวิทยากรบรรยาย จำนวน 1 คน x 3 ชั่วโมงๆละ 6๐๐ บาท เป็นเงิน  1,800 บาท - ค่าสัมมนาคุณวิทยากรกลุ่ม จำนวน 5 คน x 3 ชั่วโมงๆละ ๔๐๐ บาท เป็นเงิน  6,000 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้สูงอายุและผู้ที่เกี่ยวข้อง
จำนวน 60 คน จำนวน 2 มื้อๆ ละ 35 บาท          เป็นเงิน  4,200 บาท - ค่าอาหารกลางวันสำหรับผู้สูงอายุและผู้ที่เกี่ยวข้อง
จำนวน 60 คน จำนวน 1 มื้อๆละ 80 บาท                        เป็นเงิน 4,800 บาท - ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ
ขนาด ๑ x ๒ เมตร จำนวน ๑ ผืนๆ ละ 500 บาท        เป็นเงิน  ๕๐๐ บาท - แปรงสีฟันสำหรับผู้สูงอายุ จำนวน 5๐ ด้ามๆละ 30 บาท                เป็นเงิน  1,500 บาท - ยาสีฟันสำหรับสำหรับผู้สูงอายุ จำนวน 50 กล่องๆละ 30 บาท เป็นเงิน  1,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากเพิ่มขึ้น ๒. ผู้สูงอายุสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการแปรงฟัน และเข้าถึงการรับบริการทันตกรรม ๓. อัตราการเกิดโรคฟันผุในเด็ก ๐-๓ ปีลดลง ๔. เกิดการมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากที่ดีภายในชุมชน

 

0 0

2. กิจกรรมการส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กอายุ 0-3 ปี (คลินิกสุขภาพเด็กดี)

วันที่ 12 กันยายน 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กอายุ 0-3 ปี (คลินิกสุขภาพเด็กดี)
-  แปรงสีฟันสำหรับเด็ก 6 เดือน - ๓ ปี จำนวน 300 ด้ามๆ ละ 30 บาท  เป็นเงิน    9,000  บาท -  ยาสีฟันสำหรับเด็กขนาด ๔๐ กรัม จำนวน 300 กล่องๆ ละ 30 บาท    เป็นเงิน    9,000  บาท -  ฟลูออไรด์วานิช ขนาด 10 มิลลิกรัม จำนวน ๕ หลอดๆ ละ 2,000 บาท  เป็นเงิน 10,000  บาท -  พู่กันทาฟลูอไรด์ จำนวน 3 กระปุกๆละ 110 บาท                          เป็นเงิน        330 บาท
-  ถุงนิ้วผ้าสำหรับเช็ดเหงือก จำนวน 100 ชิ้นๆละ 15 บาท                  เป็นเงิน    1,500  บาท

        รวมเป็นเงิน 29,830 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากเพิ่มขึ้น ๒. ผู้สูงอายุสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการแปรงฟัน และเข้าถึงการรับบริการทันตกรรม ๓. อัตราการเกิดโรคฟันผุในเด็ก ๐-๓ ปีลดลง ๔. เกิดการมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากที่ดีภายในชุมชน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากเพิ่มขึ้น
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถเลือกแปรงสีฟันและวิธีการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของผู้สูงอายุมีแปรงสีฟัน และเลือกวิธีการดูแลสุขภาพช่องปาก ที่ถูกต้อง
0.00

 

3 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคฟันผุในเด็กอายุ 0-3 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของเด็กอายุ ๐-๓ ปี มีอัตราการเกิดโรคฟันผุลดลงจากเดิม
0.00

 

4 เพื่อให้เด็กอายุ ๐-๓ ปี ที่มารับบริการในคลินิกเด็กดีได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพช่องปากอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ๘๐ ของเด็กอายุ ๐-๓ ปีที่มารับบริการในคลินิกเด็กดีได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพช่องปากอย่างต่อเนื่อง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 350
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 300
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุสามารถเลือกแปรงสีฟันและวิธีการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง (3) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคฟันผุในเด็กอายุ 0-3 ปี (4) เพื่อให้เด็กอายุ ๐-๓ ปี  ที่มารับบริการในคลินิกเด็กดีได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพช่องปากอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน 50 คน (2) กิจกรรมการส่งเสริมทันตสุขภาพในเด็กอายุ 0-3 ปี (คลินิกสุขภาพเด็กดี)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยในช่องปากและฟัน ปี 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L2535-01-23

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมารีดา ฮัจญีหมัดสกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด