โครงการเฝ้าระวัง-ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ปี 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวัง-ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ปี 2567 ”
ตำบลพังยาง อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายโสภณ ขวัญชื่น
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พังยาง
สิงหาคม 2567
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง-ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ปี 2567
ที่อยู่ ตำบลพังยาง อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L5225-1-04 เลขที่ข้อตกลง 010/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวัง-ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ปี 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพังยาง อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พังยาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง-ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง-ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพังยาง อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5225-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พังยาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าและเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จะต้องเริ่มต้นจากเด็ก โดยเฉพาะในช่วงแรกเกิด – 5 ปี ซึ่งเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม เด็กในวัยนี้ ถ้าจะได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม และมีการส่งเสริมพัฒนาการที่ดีในแต่ละด้าน จะทำให้เด็กนั้นเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต พัฒนาการเด็กเกิดจากการเปลี่ยนแปลงหลายด้านผสมผสานกัน โดยพัฒนาการทุกด้านไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม ล้วนมีความสำคัญและเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันหมด การเปลี่ยนแปลงของพัฒนาการด้านหนึ่งย่อมมีผลให้พัฒนาการอีกด้านหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปด้วย การสำรวจพัฒนาการในเด็กไทยพบว่า เด็กอายุ ๐ – 5 ปี มีพัฒนาการล่าช้ากว่าร้อยละ 30 หรือประมาณ 4 ล้านคน จากการประเมินงานพัฒนาการเด็ก ๐ – 5 ปี ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพังยาง ปีงบประมาณ 2566 พบอัตราการเข้าถึงการคัดกรองพัฒนาการ DSPM ร้อยละ 82.7 พบเด็กมีพัฒนาการล่าช้า ร้อยละ 11.61 ซึ่งค่อนข้างสูงที่สุดในอำเภอระโนด จากการวิเคราะห์ปัญหา พบว่าผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก ๐ – 5 ปี กว่าร้อยละ ๗๐ ยังไม่เห็นความสำคัญ ขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการประเมิน ส่งเสริม และการกระตุ้นพัฒนาการเด็กในด้านต่างๆ ในการนี้ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพังยาง ได้เล็งเห็นความสำคัญกับปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวัง-ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ขึ้น โดยบูรณาการร่วมกับภาคีเครือข่ายสุขภาพในชุมชน ช่วยกันเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยให้ได้รับการตรวจคัดกรองครอบคลุมมากขึ้น และผู้ดูแลเด็กมีความรู้ในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กมากขึ้น รวมทั้งสามารถช่วยค้นหาเด็กที่มีพัฒนาการผิดปกติด้านต่าง ๆ ให้เข้าสู่ระบบการรักษาที่รวดเร็วขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อเพิ่มอัตราการเข้าถึงการตรวจคัดกรองพัฒนาการด้วยDSPM
- ข้อที่ 2 เพื่อเพิ่มศักยภาพแก่ผู้ดูแลเด็กและแกนนำสุขภาพในการเฝ้าระวัง ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี (ปี2567) ตำบลพังยาง อำเภอระโนด จำนวน 84 คน ภาคีเครือข่ายสุขภาพในชุมชน ได้แก่ ครู ศพด, อสม.แกนนำ,สมาชิก อบต.ในพื้น จำนวน 16 คน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อัตราการคัดกรองพัฒนาการด้วย DSPM มากกว่าร้อยละ 95
- ผู้ดูแลเด็กปฐมวัย และแกนนำสุขภาพ มีคะแนนความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการส่งเสริมพัฒนาการ มากกว่าร้อยละ 80
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1 เพื่อเพิ่มอัตราการเข้าถึงการตรวจคัดกรองพัฒนาการด้วยDSPM
ตัวชี้วัด :
2
ข้อที่ 2 เพื่อเพิ่มศักยภาพแก่ผู้ดูแลเด็กและแกนนำสุขภาพในการเฝ้าระวัง ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อเพิ่มอัตราการเข้าถึงการตรวจคัดกรองพัฒนาการด้วยDSPM (2) ข้อที่ 2 เพื่อเพิ่มศักยภาพแก่ผู้ดูแลเด็กและแกนนำสุขภาพในการเฝ้าระวัง ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี (ปี2567) ตำบลพังยาง อำเภอระโนด จำนวน 84 คน ภาคีเครือข่ายสุขภาพในชุมชน ได้แก่ ครู ศพด, อสม.แกนนำ,สมาชิก อบต.ในพื้น จำนวน 16 คน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวัง-ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ปี 2567 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L5225-1-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายโสภณ ขวัญชื่น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวัง-ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ปี 2567 ”
ตำบลพังยาง อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายโสภณ ขวัญชื่น
สิงหาคม 2567
ที่อยู่ ตำบลพังยาง อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L5225-1-04 เลขที่ข้อตกลง 010/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวัง-ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ปี 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพังยาง อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พังยาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวัง-ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ปี 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวัง-ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพังยาง อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5225-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พังยาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าและเป็นอนาคตที่สำคัญของชาติ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จะต้องเริ่มต้นจากเด็ก โดยเฉพาะในช่วงแรกเกิด – 5 ปี ซึ่งเป็นช่วงที่เริ่มมีการพัฒนาในด้านต่างๆ อย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม เด็กในวัยนี้ ถ้าจะได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม และมีการส่งเสริมพัฒนาการที่ดีในแต่ละด้าน จะทำให้เด็กนั้นเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต พัฒนาการเด็กเกิดจากการเปลี่ยนแปลงหลายด้านผสมผสานกัน โดยพัฒนาการทุกด้านไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม ล้วนมีความสำคัญและเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันหมด การเปลี่ยนแปลงของพัฒนาการด้านหนึ่งย่อมมีผลให้พัฒนาการอีกด้านหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปด้วย การสำรวจพัฒนาการในเด็กไทยพบว่า เด็กอายุ ๐ – 5 ปี มีพัฒนาการล่าช้ากว่าร้อยละ 30 หรือประมาณ 4 ล้านคน จากการประเมินงานพัฒนาการเด็ก ๐ – 5 ปี ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพังยาง ปีงบประมาณ 2566 พบอัตราการเข้าถึงการคัดกรองพัฒนาการ DSPM ร้อยละ 82.7 พบเด็กมีพัฒนาการล่าช้า ร้อยละ 11.61 ซึ่งค่อนข้างสูงที่สุดในอำเภอระโนด จากการวิเคราะห์ปัญหา พบว่าผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก ๐ – 5 ปี กว่าร้อยละ ๗๐ ยังไม่เห็นความสำคัญ ขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการประเมิน ส่งเสริม และการกระตุ้นพัฒนาการเด็กในด้านต่างๆ ในการนี้ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพังยาง ได้เล็งเห็นความสำคัญกับปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวัง-ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ขึ้น โดยบูรณาการร่วมกับภาคีเครือข่ายสุขภาพในชุมชน ช่วยกันเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยให้ได้รับการตรวจคัดกรองครอบคลุมมากขึ้น และผู้ดูแลเด็กมีความรู้ในการส่งเสริมพัฒนาการเด็กมากขึ้น รวมทั้งสามารถช่วยค้นหาเด็กที่มีพัฒนาการผิดปกติด้านต่าง ๆ ให้เข้าสู่ระบบการรักษาที่รวดเร็วขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อเพิ่มอัตราการเข้าถึงการตรวจคัดกรองพัฒนาการด้วยDSPM
- ข้อที่ 2 เพื่อเพิ่มศักยภาพแก่ผู้ดูแลเด็กและแกนนำสุขภาพในการเฝ้าระวัง ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี (ปี2567) ตำบลพังยาง อำเภอระโนด จำนวน 84 คน ภาคีเครือข่ายสุขภาพในชุมชน ได้แก่ ครู ศพด, อสม.แกนนำ,สมาชิก อบต.ในพื้น จำนวน 16 คน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อัตราการคัดกรองพัฒนาการด้วย DSPM มากกว่าร้อยละ 95
- ผู้ดูแลเด็กปฐมวัย และแกนนำสุขภาพ มีคะแนนความรู้ ความเข้าใจ และมีทักษะในการส่งเสริมพัฒนาการ มากกว่าร้อยละ 80
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อเพิ่มอัตราการเข้าถึงการตรวจคัดกรองพัฒนาการด้วยDSPM ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | ข้อที่ 2 เพื่อเพิ่มศักยภาพแก่ผู้ดูแลเด็กและแกนนำสุขภาพในการเฝ้าระวัง ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อเพิ่มอัตราการเข้าถึงการตรวจคัดกรองพัฒนาการด้วยDSPM (2) ข้อที่ 2 เพื่อเพิ่มศักยภาพแก่ผู้ดูแลเด็กและแกนนำสุขภาพในการเฝ้าระวัง ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี (ปี2567) ตำบลพังยาง อำเภอระโนด จำนวน 84 คน ภาคีเครือข่ายสุขภาพในชุมชน ได้แก่ ครู ศพด, อสม.แกนนำ,สมาชิก อบต.ในพื้น จำนวน 16 คน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวัง-ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ปี 2567 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L5225-1-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายโสภณ ขวัญชื่น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......