โครงการโภชนาการสมวัย ลดภาวะซีด
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการโภชนาการสมวัย ลดภาวะซีด ”
ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายฟากรี ดาหะซี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการโภชนาการสมวัย ลดภาวะซีด
ที่อยู่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4127-01-04 เลขที่ข้อตกลง 67-01-04
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 29 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการโภชนาการสมวัย ลดภาวะซีด จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการโภชนาการสมวัย ลดภาวะซีด
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการโภชนาการสมวัย ลดภาวะซีด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4127-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 29 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ภาวะซีด คือ ภาวะที่ค่าฮีโมโกลบิน/ฮีมาโตคริต ต่ำกว่าค่าปกติในแต่ละช่วงอายุ สำหรับในเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 1 ปี ค่าปกติของฮีโมโกลบิน คือ มากกว่า 11 กรัม/เดซิลิตร หรือค่าฮีมาโตคริตมากกว่า 33% ซึ่งสาเหตุของภาวะซีดที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยเด็กสำหรับเด็กอายุ 6 เดือนถึง 1 ปี ได้แก่ ภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก ซึ่งเป็นสาเหตุของภาวะซีดที่พบได้บ่อยที่สุดในเด็ก ส่วนสาเหตุที่พบได้รองลงมา คือ โรคธาลัสซีเมีย ซึ่งเป็นโลหิตจางทางพันธุกรรม พบได้บ่อยในประเทศไทยเช่นกัน นอกจากนี้ยังพบสาเหตุอื่นๆ ที่ทำให้ซีดได้อีก เช่นโรคมะเร็ง และโรคโลหิตจางทางพันธุกรรมอื่นๆ ซึ่งต้องอาศัยการซักประวัติ การตรวจร่างกาย และการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อนำไปสู่การวินิจฉัยที่ถูกต้อง ภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็กมีความสำคัญเนื่องจากภาวะซีดเล็กน้อยจะทำให้เด็กดูซีดลง ทั้งที่ตา หน้า ริมฝีปาก ฝ่ามือ แต่อาการอื่นๆ จะปกติ เมื่อมีภาวะซีดปานกลางเด็กจะมีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ในกรณีที่ภาวะซีดรุนแรงมาก เด็กอาจจะมีอาการหัวใจวายและมีการเจริญ เติบโตที่ช้ากว่าปกติได้
สำหรับเด็กที่มีภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก จะมีผลต่อพัฒนาการและความสามารถในการเรียนรู้ที่ลดลง เมื่อเทียบกับเด็กที่ไม่มีภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก การรักษาภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก รักษาด้วยการกินยาธาตุเหล็กทุกวัน ร่วมกับการปรับอาหารที่กินให้มีธาตุเหล็กมากขึ้น โดยภาวะซีดจากการขาดธาตุสามารถรักษาให้หายขาดและหยุดยาได้
โภชนาการในช่วงทารกและเด็กเล็ก (แรกเกิดถึง อายุ 5 ปี) มีความสำคัญต่อสุขภาพในระยะยาว และยังมี ความสำคัญต่อการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในอนาคต หากผู้ปกครองใส่ใจบุตรหลาน ให้มีโภชนาการสมวัย ไม่พบภาวะซีด ก็จะส่งผลดีต่อบุตรหลานในอนาคตได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์
- เพื่อป้องกันโรคทาลัสซีเมีย
- เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมโภชนาการเด็กปฐมวัย
- เด็กอายุ 6 เดือน – 1ปี ได้รับการเจาะเลือดเพื่อคัดกรองภาวะซีด และได้รับยาน้ำเริมธาตุเหล็กทุกราย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- รณรงค์คัดกรอง ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เด็ก อายุ 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบตำบลบาเจาะ โดย อสม.
- รณรงค์คัดกรองภาวะซีดโดยการเจาะเลือดปลายนิ้ว ในเด็กอายุ 6 เดือน – 1 ปี
- 1.ประชุมชี้แจง รายละเอียดโครงการ แก่ผู้นำท้องถิ่น และอาสาสมัครสาธารณสุข
- ประชุมชี้แจง รายละเอียดโครงการ แก่ผู้นำท้องถิ่น และอาสาสมัครสาธารณสุข
- รณรงค์คัดกรองภาวะซีดโดยการเจาะเลือดปลายนิ้ว ในเด็กอายุ 6 เดือน – 1 ปี
- รณรงค์คัดกรอง ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เด็ก อายุ 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบตำบลบาเจาะ โดย อสม.
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
70
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็กอายุ 6 เดือน -1 ปี ในตำบลบาเจาะ ได้รับการเจาะเลือดเพื่อคัดกรองภาวะซีด และได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็กทุกราย
2.เด็กอายุ 0-5ปี ในตำบลบาเจาะ ได้รับการคัดกรอง ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ทุกราย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธุ์ ที่มีภาวะซีด ลดลง
85.00
95.00
2
เพื่อป้องกันโรคทาลัสซีเมีย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่ ได้รับการคัดกรองและป้องกันโรคทาลัสซีเมีย เพิ่มขึ้น
65.00
85.00
3
เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมโภชนาการเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : เด็ก 0-5 ปี ได้รับการคัดกรอง ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
95.00
4
เด็กอายุ 6 เดือน – 1ปี ได้รับการเจาะเลือดเพื่อคัดกรองภาวะซีด และได้รับยาน้ำเริมธาตุเหล็กทุกราย
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 6 เดือน – 1ปี ได้รับการเจาะเลือดเพื่อคัดกรองภาวะซีด และได้รับยาเสริมธาตุเหล็กร้อยละ 100
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
70
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์ (2) เพื่อป้องกันโรคทาลัสซีเมีย (3) เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมโภชนาการเด็กปฐมวัย (4) เด็กอายุ 6 เดือน – 1ปี ได้รับการเจาะเลือดเพื่อคัดกรองภาวะซีด และได้รับยาน้ำเริมธาตุเหล็กทุกราย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์คัดกรอง ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เด็ก อายุ 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบตำบลบาเจาะ โดย อสม. (2) รณรงค์คัดกรองภาวะซีดโดยการเจาะเลือดปลายนิ้ว ในเด็กอายุ 6 เดือน – 1 ปี (3) 1.ประชุมชี้แจง รายละเอียดโครงการ แก่ผู้นำท้องถิ่น และอาสาสมัครสาธารณสุข (4) ประชุมชี้แจง รายละเอียดโครงการ แก่ผู้นำท้องถิ่น และอาสาสมัครสาธารณสุข (5) รณรงค์คัดกรองภาวะซีดโดยการเจาะเลือดปลายนิ้ว ในเด็กอายุ 6 เดือน – 1 ปี (6) รณรงค์คัดกรอง ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เด็ก อายุ 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบตำบลบาเจาะ โดย อสม.
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการโภชนาการสมวัย ลดภาวะซีด จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4127-01-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายฟากรี ดาหะซี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการโภชนาการสมวัย ลดภาวะซีด ”
ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายฟากรี ดาหะซี
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4127-01-04 เลขที่ข้อตกลง 67-01-04
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 29 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการโภชนาการสมวัย ลดภาวะซีด จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการโภชนาการสมวัย ลดภาวะซีด
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการโภชนาการสมวัย ลดภาวะซีด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4127-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 29 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเจาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ภาวะซีด คือ ภาวะที่ค่าฮีโมโกลบิน/ฮีมาโตคริต ต่ำกว่าค่าปกติในแต่ละช่วงอายุ สำหรับในเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 1 ปี ค่าปกติของฮีโมโกลบิน คือ มากกว่า 11 กรัม/เดซิลิตร หรือค่าฮีมาโตคริตมากกว่า 33% ซึ่งสาเหตุของภาวะซีดที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยเด็กสำหรับเด็กอายุ 6 เดือนถึง 1 ปี ได้แก่ ภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก ซึ่งเป็นสาเหตุของภาวะซีดที่พบได้บ่อยที่สุดในเด็ก ส่วนสาเหตุที่พบได้รองลงมา คือ โรคธาลัสซีเมีย ซึ่งเป็นโลหิตจางทางพันธุกรรม พบได้บ่อยในประเทศไทยเช่นกัน นอกจากนี้ยังพบสาเหตุอื่นๆ ที่ทำให้ซีดได้อีก เช่นโรคมะเร็ง และโรคโลหิตจางทางพันธุกรรมอื่นๆ ซึ่งต้องอาศัยการซักประวัติ การตรวจร่างกาย และการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อนำไปสู่การวินิจฉัยที่ถูกต้อง ภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็กมีความสำคัญเนื่องจากภาวะซีดเล็กน้อยจะทำให้เด็กดูซีดลง ทั้งที่ตา หน้า ริมฝีปาก ฝ่ามือ แต่อาการอื่นๆ จะปกติ เมื่อมีภาวะซีดปานกลางเด็กจะมีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย ในกรณีที่ภาวะซีดรุนแรงมาก เด็กอาจจะมีอาการหัวใจวายและมีการเจริญ เติบโตที่ช้ากว่าปกติได้
สำหรับเด็กที่มีภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก จะมีผลต่อพัฒนาการและความสามารถในการเรียนรู้ที่ลดลง เมื่อเทียบกับเด็กที่ไม่มีภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก การรักษาภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก รักษาด้วยการกินยาธาตุเหล็กทุกวัน ร่วมกับการปรับอาหารที่กินให้มีธาตุเหล็กมากขึ้น โดยภาวะซีดจากการขาดธาตุสามารถรักษาให้หายขาดและหยุดยาได้
โภชนาการในช่วงทารกและเด็กเล็ก (แรกเกิดถึง อายุ 5 ปี) มีความสำคัญต่อสุขภาพในระยะยาว และยังมี ความสำคัญต่อการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในอนาคต หากผู้ปกครองใส่ใจบุตรหลาน ให้มีโภชนาการสมวัย ไม่พบภาวะซีด ก็จะส่งผลดีต่อบุตรหลานในอนาคตได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์
- เพื่อป้องกันโรคทาลัสซีเมีย
- เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมโภชนาการเด็กปฐมวัย
- เด็กอายุ 6 เดือน – 1ปี ได้รับการเจาะเลือดเพื่อคัดกรองภาวะซีด และได้รับยาน้ำเริมธาตุเหล็กทุกราย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- รณรงค์คัดกรอง ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เด็ก อายุ 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบตำบลบาเจาะ โดย อสม.
- รณรงค์คัดกรองภาวะซีดโดยการเจาะเลือดปลายนิ้ว ในเด็กอายุ 6 เดือน – 1 ปี
- 1.ประชุมชี้แจง รายละเอียดโครงการ แก่ผู้นำท้องถิ่น และอาสาสมัครสาธารณสุข
- ประชุมชี้แจง รายละเอียดโครงการ แก่ผู้นำท้องถิ่น และอาสาสมัครสาธารณสุข
- รณรงค์คัดกรองภาวะซีดโดยการเจาะเลือดปลายนิ้ว ในเด็กอายุ 6 เดือน – 1 ปี
- รณรงค์คัดกรอง ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เด็ก อายุ 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบตำบลบาเจาะ โดย อสม.
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 70 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็กอายุ 6 เดือน -1 ปี ในตำบลบาเจาะ ได้รับการเจาะเลือดเพื่อคัดกรองภาวะซีด และได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็กทุกราย 2.เด็กอายุ 0-5ปี ในตำบลบาเจาะ ได้รับการคัดกรอง ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ทุกราย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธุ์ ที่มีภาวะซีด ลดลง |
85.00 | 95.00 |
|
|
2 | เพื่อป้องกันโรคทาลัสซีเมีย ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่ ได้รับการคัดกรองและป้องกันโรคทาลัสซีเมีย เพิ่มขึ้น |
65.00 | 85.00 |
|
|
3 | เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมโภชนาการเด็กปฐมวัย ตัวชี้วัด : เด็ก 0-5 ปี ได้รับการคัดกรอง ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 |
95.00 |
|
||
4 | เด็กอายุ 6 เดือน – 1ปี ได้รับการเจาะเลือดเพื่อคัดกรองภาวะซีด และได้รับยาน้ำเริมธาตุเหล็กทุกราย ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 6 เดือน – 1ปี ได้รับการเจาะเลือดเพื่อคัดกรองภาวะซีด และได้รับยาเสริมธาตุเหล็กร้อยละ 100 |
100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 70 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์ (2) เพื่อป้องกันโรคทาลัสซีเมีย (3) เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังและส่งเสริมโภชนาการเด็กปฐมวัย (4) เด็กอายุ 6 เดือน – 1ปี ได้รับการเจาะเลือดเพื่อคัดกรองภาวะซีด และได้รับยาน้ำเริมธาตุเหล็กทุกราย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์คัดกรอง ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เด็ก อายุ 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบตำบลบาเจาะ โดย อสม. (2) รณรงค์คัดกรองภาวะซีดโดยการเจาะเลือดปลายนิ้ว ในเด็กอายุ 6 เดือน – 1 ปี (3) 1.ประชุมชี้แจง รายละเอียดโครงการ แก่ผู้นำท้องถิ่น และอาสาสมัครสาธารณสุข (4) ประชุมชี้แจง รายละเอียดโครงการ แก่ผู้นำท้องถิ่น และอาสาสมัครสาธารณสุข (5) รณรงค์คัดกรองภาวะซีดโดยการเจาะเลือดปลายนิ้ว ในเด็กอายุ 6 เดือน – 1 ปี (6) รณรงค์คัดกรอง ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เด็ก อายุ 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบตำบลบาเจาะ โดย อสม.
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการโภชนาการสมวัย ลดภาวะซีด จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 67-L4127-01-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายฟากรี ดาหะซี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......