โครงการ รู้เท่าทันผลิตภัณฑ์สุขภาพกับ อสม.อย. ชุมชนจงหัว
ชื่อโครงการ | โครงการ รู้เท่าทันผลิตภัณฑ์สุขภาพกับ อสม.อย. ชุมชนจงหัว |
รหัสโครงการ | 67-L8008-02-35 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | อาสาสมัครสาธารณสุขประจำตำบล(อสม.) |
วันที่อนุมัติ | 15 สิงหาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กันยายน 2567 - 31 ธันวาคม 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 มกราคม 2568 |
งบประมาณ | 26,650.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวจุไรรัตน์ จิรพงศ์วิริยะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ก.ย. 2567 | 31 ธ.ค. 2567 | 26,650.00 | |||
รวมงบประมาณ | 26,650.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 60 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | จำนวนครัวเรือนที่ได้รับการตรวจคัดกรองผลิตภัณฑ์สุขภาพ จำนวนครัวเรือนทั้งหมด 291 ครัวเรือน ยังไม่มีครัวเรือนที่ได้รับการตรวจคัดกรองผลิตภัณฑ์สุขภาพ |
0.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ในปัจจุบัน ประเทศไทย มีการพัฒนาไปในด้านต่างๆอย่างรวดเร็ว ด้านเทคโนโลยีก็เป็นอีกด้านที่มีการเติบโตแบบก้าวกระโดด การเติบโตอย่างรวดเร็วเกินไป มีทั้งข้อดีและข้อเสีย ข้อดีก็คือ สามารถทำให้เราสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลได้ง่ายมากยิ่งขึ้น แต่ข้อเสียก็คือ ข้อมูลที่ได้มาอาจประกอบด้วยข้อมูลอันเป็นเท็จ หรือบิดเบือนจากความเป็นจริง ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพก็เหมือนกัน มีหลากหลายผลิตภัณฑ์ที่มีตามท้องตลาด ที่มีสรรพคุณเกินจริง กลุ่มผู้สูงอายุหรือประชาชนทั่วไปที่อาศัยอยู่ลำพัง มักจะตกเป็นเหยื่อของผลิตภัณฑ์จำพวกนี้อยู่มาก ด้วยเหตุผลที่ว่าดูมาจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ หรือบุคคลที่น่าเชื่อถือการันตี สิ่งเหล่านี้อาจเป็นภัยเงียบที่จะนำโรคภัยไข้เจ็บมาสู่ผู้บริโภคได้ ตัวอย่างเช่น ยาชุด หลายคนทราบอันตรายที่จะได้รับจากยาชุด แต่ยังมีอีกมาก ที่คิดว่ายาชุด สามารถรักษาอาการเจ็บป่วยได้เพราะสารบางตัวที่เป็นส่วนประกอบในยาชุด สามารถลดอาการเจ็บปวดได้ ทำให้เสมือนคล้ายหายจากอาการเจ็บปวด แต่ ผลเสียที่จะตามมาจากการกินยาประเภทนี้ อาจร้ายแรงจนถึงแกชีวิตก็เป็นได้ ทางอสม.อย.ชุมชนจงหัว จึงจัดทำโครงการ รู้เท่าทันผลิตภัณฑ์สุขภาพกับอสม.อย.ชุมชนจงหัว เพื่อเป็นการนำร่องให้ประชาชนในชุมชนจงหัว มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับอันตรายที่มากับยาชุดหรือยาสมุนไพร ผู้เข้าร่วมสามารถตรวจสอบข้อมูลข้อเท็จจริงเบื้องต้นได้ด้วยตัวเอง สามารถบอกกล่าวข้อมูลที่ถูกต้องกับคนรอบข้างได้
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนชุมชนจงหัว มีความรู้ ความเข้าใจ ในการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้มาตรฐานหรือผ่านการรับรองจาก อย.สามารถตรวจสอบหาข้อมูลเบื้องต้นด้วยตนเองได้ ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ |
60.00 | 48.00 |
2 | เพื่อให้ครัวเรือนในชุมชนจงหัวได้รับการสุ่มตรวจคัดกรองผลิตภัณฑ์สุขภาพ ร้อยละ 54 ของครัวเรือนเป้าหมายได้รับการสุ่มตรวจคัดกรองผลิตภัณฑ์สุขภาพ |
291.00 | 160.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 100 | 26,650.00 | 0 | 0.00 | |
25 ก.ย. 67 | จัดประชุมคณะทำงานเพื่อเปิดรับสมัครกลุ่มเป้าหมาย | 20 | 600.00 | - | ||
28 ต.ค. 67 | กิจกรรมรณรงค์ตรวจผลิตภัณฑ์สุขภาพรายครัวเรือน และสรุปเนื้อหาของการทำงาน | 20 | 8,900.00 | - | ||
24 พ.ย. 67 | อบรมให้ความรู้เท่าทันผลิตภัณฑ์สุขภาพกับอสม.อย.ชุมชนจงหัว | 60 | 17,150.00 | - |
ประชาชนในชุมชนจงหัวสามารถตรวจสอบข้อมูลข้อเท็จจริงเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นได้ และสามารถบอกเล่าข้อมูลที่ถูกต้องแม่นยำกับคนรอบข้างได้
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 31 พ.ค. 2567 00:00 น.