กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ อสม.แพทย์แผนไทย ”
ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวมาริสา ลิมะพันธ์ แพทย์แผนไทย




ชื่อโครงการ โครงการ อสม.แพทย์แผนไทย

ที่อยู่ ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5187-01-01 เลขที่ข้อตกลง 3/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อสม.แพทย์แผนไทย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะพานไม้แก่น ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม.แพทย์แผนไทย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อสม.แพทย์แผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5187-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 28 กุมภาพันธ์ 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะพานไม้แก่น เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดให้มีอาสาสมัครสาธารณสุขในงานสาธารณสุขมูลฐานเพียงประเภทเดียว คือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) โดยมีบทบาทหน้าที่สำคัญในฐานะผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านพฤตกรรมสุขภาพอนามัย (Change agents) การสื่อข่าวสารสาธารณสุข การแนะนำเผยแพร่ความรู้ การวางแผนและประสานกิจกรรมพัฒนาสาธารณสุข ตลอดจนให้บริการสาธารณสุขด้านต่างๆ เช่น การส่งเสริมสุขภาพ การเฝ้าระวังและป้องกันโรค การช่วยเหลือและรักษาพยาบาลขั้นต้น โดยใช้ยาและเวชภัณฑ์ตามขอบเขตที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด การส่งต่อผู้ป่วยไปรับบริการ การฟื้นฟูสภาพ และจัดกิจกรรมพัฒนาสุขภาพภาคประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชน
  การดำเนินงานของ อสม.เป็นรูปแบบการดำเนินงานเชิงรุก เข้าถึงคนในชุมชนทุกกลุ่มวัย โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบางในสังคม เช่น เด็กแรกเกิด หญิงตั้งครรภ์ บุคคลทุพพลภาพ ผู้พิการ ผู้สูงอายุ เป็นต้น การแพทย์แผนไทยซึ่งเป็นศาสตร์การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมที่มีการสืบต่อกันมาโดยรุ่นสู่รุ่น เป็นแพทย์ทางเลือกที่ให้บริการแก่ประชาชนจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สนับสนุนให้มีการส่งเสริมการดูแลสุขภาพเบื้องต้นตามแนวทางการแพทย์แผนไทย เช่น การนวด ยาสมุนไพร และหัตถกรรมต่างๆ ช่วยส่งเสริมให้คนในชุมชนมีความเข้าใจในการการแพทย์แผนไทย สามารถพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน โดยการพึ่งภูมิปัญญาในท้องถิ่นตามสภาพของแต่ละชุมชนและตามวัฒนธรรมของแต่ละพื้นที่ ดังนั้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะพานไม้แก่น จึงเล็งเห็นความสำคัญของการรักษาด้านการแพทย์แผนไทยเป็นแพทย์ทางเลือกให้ประชาชนในชุมชน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อผลักดันให้แกนนำ อสม.มีความรู้ความสามารถด้านการนวดแผนไทยและเกิดทักษะด้านการนวดแผนไทย สามารถนำไปใช้ส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสุขภาพเบื้องต้นได้ และสามารถออกให้บริการนวดดูแลสุขภาพของผู้ป่วยเรื้อรัง กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดเตียงหรือกลุ่มเปราะบางในเขตรับผิดชอบของตนเองได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างแกนนำชุมชนมีความรู้ความสามารถด้านการนวดแผนไทย และเกิดทักษะด้านการนวดแผนไทย สามารถนำไปใช้ส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสุขภาพเบื้่องต้นได้
  2. เพื่อให้ผู้ที่ผ่านการอบรมสามารถออกให้บริการนวดดูแลสุขภาพของกลุ่มบ้านที่รับผิดชอบ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รับสมัคร อสม.ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ
  2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องการนวดไทย
  3. กิจกรรมการทำลูกประคบสมุนไพร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.แกนนำ อสม.มีความรู้ ความสามารถด้านการนวดแผนไทยและเกิดทักษะด้านการนวดแผนไทย และสามารถนำไปใช้ส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสุขภาพเบื้องต้นได้ 2.ผู้ที่ผ่านการอบรมสามารถออกให้บริการนวดดูแลสุขภาพของกลุ่มบ้านที่รับผิดชอบ ผู้ป่วยเรื้อรัง กลุ่มผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. รับสมัคร อสม.ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ

วันที่ 22 มกราคม 2568 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินการรับสมัคร อสม.ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ ในวันประชุมประจำเดือนของ อสม. ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะพานไม้แก่น

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการรับสมัคร อสม.ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ มี อสม.ให้ความสนใจ สมัครเข้าร่วมโครงการจำนวน 50 คน ตรงตามเป้าหมายที่ได้กำหนดไว้

 

50 0

2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องการนวดไทย

วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมให้ความรู้การนวดไทย จำนวน 1 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2568  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะพานไม้แก่น ได้ดำเนินกิจกรรมให้ความรู้เรื่องการนวดไทย ประโยชน์  ข้อห้าม และข้อควรระวังในการนวดไทย โดยมีวิทยากรสาธิตและร่วมฝึกปฏฺิบัติพร้อมกัน ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะพานไม้แก่น  มีอสม.เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 50 ราย

 

50 0

3. กิจกรรมการทำลูกประคบสมุนไพร

วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมการทำลูกประคบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมการให้ความรู้เรื่องการประคบสมุนไพร  โดยวิทยากรสาธิตการทำลูกประคบสมุนไพรและฝึกปฏิบัติการทำลูกประคบ และวิธีการใช้ลูกประคบ

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.แกนนำ อสม.มีความรู้ความสามารถด้านการนวดแผนไทยและเกิดทักษะด้านการนวดแผนไทย สามารถนำไปใช้ส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสุขภาพเบื้องต้นได้ ซึ่งผลลัพธ์อยู่ในระดับที่น่าพึ่งพอใจ 2.แกนนำ อสม.ที่ผ่านการอบรมสามารถนำการนวดไทยและการประคบสมุนไพรดูแลสุขภาพของผู้ป่วยเรื้อรัง และผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงในเขตรับผิดชอบตนเองได้ ซึ่งผลลัพธ์อยู่ในระดับที่น่าพึงพอใจ 3.การรักษาด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยได้รับการยอมรับมากขึ้น ประเมินผลจากความสนใจ และให้ความร่วมมือของผู้เข้าร่วมโครงการและจากการใช้แบบสอบถามความพึงพอใจ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสร้างแกนนำชุมชนมีความรู้ความสามารถด้านการนวดแผนไทย และเกิดทักษะด้านการนวดแผนไทย สามารถนำไปใช้ส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสุขภาพเบื้่องต้นได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละของแกนนำชุมชนมีความรู้ ความสามารถด้านการนวดแผนไทยและเกิดทักษะการนวดแผนไทย
50.00 100.00

 

2 เพื่อให้ผู้ที่ผ่านการอบรมสามารถออกให้บริการนวดดูแลสุขภาพของกลุ่มบ้านที่รับผิดชอบ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ที่ผานการอบรมสามารถออกให้บริการนวดดูแลสุขภาพของกลุ่มบ้านที่รับผิดชอบได้
50.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างแกนนำชุมชนมีความรู้ความสามารถด้านการนวดแผนไทย และเกิดทักษะด้านการนวดแผนไทย สามารถนำไปใช้ส่งเสริมสุขภาพและฟื้นฟูสุขภาพเบื้่องต้นได้ (2) เพื่อให้ผู้ที่ผ่านการอบรมสามารถออกให้บริการนวดดูแลสุขภาพของกลุ่มบ้านที่รับผิดชอบ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รับสมัคร อสม.ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ (2) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้เรื่องการนวดไทย (3) กิจกรรมการทำลูกประคบสมุนไพร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ อสม.แพทย์แผนไทย จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 67-L5187-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวมาริสา ลิมะพันธ์ แพทย์แผนไทย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด