โครงการ อสม.ตำบลสะพานไม้แก่น ร่วมใจ สร้างชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครอง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ อสม.ตำบลสะพานไม้แก่น ร่วมใจ สร้างชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครอง ”
ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวชญาภา ศิริวรรณ์ นักวิชาการสาธารณสุข
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะพานไม้แก่น
กุมภาพันธ์ 2568
ชื่อโครงการ โครงการ อสม.ตำบลสะพานไม้แก่น ร่วมใจ สร้างชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครอง
ที่อยู่ ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L5187-01-03 เลขที่ข้อตกลง 5/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ อสม.ตำบลสะพานไม้แก่น ร่วมใจ สร้างชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครอง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะพานไม้แก่น ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม.ตำบลสะพานไม้แก่น ร่วมใจ สร้างชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครอง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ อสม.ตำบลสะพานไม้แก่น ร่วมใจ สร้างชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5187-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 28 กุมภาพันธ์ 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,732.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะพานไม้แก่น เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากวิถีการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไปจากเดิมเป็นวิถีชีวิตแบบรีบเร่ง และเอาตัวรอดมากขึ้น มีสื่อประเภทต่างๆเข้ามามีบทบาทในสังคมปัจจุบัน เพิ่มมากขึ้นให้ผู้บริโภคอาจหลงเชื่อจนกระทั่งตัดสินใจ เลือกซื้อใช้ผลิตภัณฑ์นั้นๆ ซึ่งต่างจากในอดีตประชากรมักดำรงชีวิตแบบเอื้ออาทรอีกทั้งการผลิต ยังคงใช้วัสดุจากธรรมชาติเป็นส่วนประกอบมากกว่ารวมถึงมีการเอารัดเอาเปรียบผู้บริโภคด้วยกลวิธีต่างๆ ของผู้ผลิตยังไม่มากเช่นปัจจุบัน เด็กที่อยู่ในวัยเรียน ส่วนใหญ่มักมีพฤติกรรมในการเลือกซื้อหรือใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีสีสันต้องตา หรือกำลังอยู่ในช่วงของการโฆษณาตามสื่อประเภทต่างๆ โดยมิได้คำนึงถึงประโยชน์ อันตรายหรือความปลอดภัยสักเท่าไหร่พฤติกรรมดังกล่าวนี้อาจเกิดจากหลายสาเหตุ โดยเฉพาะหากกลุ่มเยาวชนดังกล่าวไม่ได้รับความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ประเภทต่างๆ ซึ่งผู้ผลิตได้ผลิตออกมา เพื่อสนองความต้องการของผู้บริโภคอย่างหลากหลายมีทั้งผลิตภัณฑ์ที่ถูกต้องตามมาตรฐานที่กำหนดแต่ก็ยังคงมีผลิตภัณฑ์ที่ผู้ผลิตได้แอบอ้างสรรพคุณมีการโฆษณาชวนเชื่อเกินความเป็นจริง หรืออาจมีผลิตภัณฑ์ที่มีสารปนเปื้อนเป็นอันตราย ปะปนอยู่เป็นจำนวนมาก พร้อมกันนี้ควรให้ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร และการอ่านดูข้อมูลโภชนาการจากฉลากผลิตภัณฑ์ควบคู่ไปด้วยหากเยาวชนกลุ่มดังกล่าวมีความรู้ และมีทักษะในการเลือกซื้อ ใช้ผลิตภัณฑ์ประเภทต่างๆ จะทำให้สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันจนสามารถทำให้ปัญหาด้านสุขภาพหรือปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมต่างๆลดน้อยลงได้ พร้อมทั้งให้ความรู้ ให้คำปรึกษาแก่บุคคลในครอบครัวหรือบุคคลทั่วไปได้อย่างมั่นใจ
ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะพานไม้แก่น มีสถานประกอบการต่างๆจำนวนมาก เช่น ร้านอาหาร ร้านแผงลอย รถเร่ขายยา ตลาดนัด ร้านขายของชำในหมู่บ้านประกอบกับในยุคปัจจุบันบ้านเมืองมีความเจริญก้าวหน้า มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย การโฆษณาชวนเชื่อต่างๆเข้าถึงได้ง่ายและรวดเร็ว จึงมีความสะดวกในการซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆโดยเฉพาะการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพจากร้านชำในพื้นที่ซึ่งเป็นแหล่งกระจายสินค้าประเภทต่างๆ ให้แก่ผู้บริโภคในพื้นที่เพื่อนำมาใช้ตอบสนองต่อความต้องการของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นอาหาร เครื่องสำอาง ยาหรือของใช้ต่างๆ เครื่องอุปโภคบริโภค ซึ่งหากผู้บริโภคในพื้นที่ยังมีความเชื่อความเข้าใจผิด ขาดทักษะความรู้ที่ถูกต้อง และมีพฤติกรรมการเลือกซื้อและใช้ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้คุณภาพมาตรฐาน ก็อาจจะตกเป็นเหยื่อและได้รับอันตรายจากอุปโภคและบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้คุณภาพมาตรฐานได้ง่าย
ในปีงบประมาณ 2567 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะพานไม้แก่น ได้ตระหนักถึงความสำคัญของงานคุ้มครองผู้บริโภค จึงได้จัดทำโครงการ อสม.ตำบลสะพานไม้แก่น ร่วมใจ สร้างชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครอง ดังนั้นเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพสะพานไม้แก่น จึงมีแผนที่จะให้มีโครงการ อสม.ร่วมใจสร้างชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครอง โดยการสร้างแกนนำ อสม.ให้มีการเข้าถึงชุมชนอย่างแท้จริง เพื่อทำหน้าที่เฝ้าระวังการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานในชุมชน การโฆษณาชวนเชื่อ การเฝ้าระวังร้านชำขายยาหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานในชุมชน ฯลฯ ทั้งนี้เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัยของชาวบ้านในชุมชน เพื่อให้ชุมชนปลอดภัยจากบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ อสม.มีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี
- เพื่อให้ อสม.สามารถใช้ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร ชุดทดสอบสารสเตียรอยด์ในยาชุด ยาสมุนไพร รวมทั้งเครื่องสำอางได้อย่างถูกต้อง
- เพื่อให้ อสม.ได้มีการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และได้ช่วยเหลือเพื่อนๆ ครอบครัว และชุมชน ด้วยการให้ความรู้การบริโภคอย่างเหมาะสม ปลอดภัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฏฺิบัติการให้ความรู้เรื่องการเลือกอาหารปลอดภัย
- กิจกรรมตรวจสารปนเปื้อน 9 ชนิด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
55
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เพื่อให้ชุมชนเป็นชุมชนสีขาวปลอดภัยจากผลิตภัณฑ์ผิดกฎหมาย และประชาชนได้บริโภคผลิตภัณฑ์และอาหารที่ปลอดภัย
2.อสม.สามารถตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร และในผลิตภัณฑ์ต่างๆได้ด้วยตนเองอย่างถูกต้อง ปลอดภัย ร้อยละ 100
3.อสม.ได้รับความรู้ในการเลือกซื้ออาหาร เลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างถูกต้องปลอดภัย ร้อยละ 100
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมเชิงปฏฺิบัติการให้ความรู้เรื่องการเลือกอาหารปลอดภัย
วันที่ 6 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้การเลือกอาหารปลอดภัย ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้อง และการใช้ชุดทดสอบตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร ชุดทดสอบสารสเตียรอยด์ในยาชุด ยาสมุนไพร รวมทั้งเครื่องสำอาง
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2568 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะพานไม้แก่น ได้ดำเนินการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การให้ความรู้การเลือกอาหารปลอดภัย ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้อง และการใช้ชุดทดสอบตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร ชุดทดสอบสารสเตียรอยด์ในยาชุด ยาสมุนไพร รวมทั้งเครื่องสำอาง โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 55 คน
55
0
2. กิจกรรมตรวจสารปนเปื้อน 9 ชนิด
วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 14:30 น.กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมการตรวจหาสารปนเปื้อน จำนวน 9 ชนิด ได้แก่ บอแรกซ์ สารกันรา สารฟอกขาว ฟอร์มาลิน น้ำมันทอดซ้ำ โคลิฟอร์มน้ำ - น้ำแข็ง การตรวจผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง 4 ชนิด ได้แก่ กรดวิตามินเอ สเตียรอยด์ ไฮโดรควิโนน ปรอท และยาโดยใช้ชุดทอดสอบเตียรอยด์
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2568 ดำเนินการจัดกิจกรรมการตรวจหาสารปนเปื้อน จำนวน 9 ชนิด ได้แก่ บอแรกซ์ สารกันรา สารฟอกขาว ฟอร์มาลิน น้ำมันทอดซ้ำ โคลิฟอร์มน้ำ - น้ำแข็ง การตรวจผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง 4 ชนิด ได้แก่ กรดวิตามินเอ สเตียรอยด์ ไฮโดรควิโนน ปรอท และยาโดยใช้ชุดทอดสอบเตียรอยด์
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.อสม.สามารถตรวจสารปนเปื้อนในอาหารและในผลิตภัณฑ์ต่างๆ ด้วยตัวเองได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย
2.อสม.มีความรู้ในการเลือกซื้ออาหาร ผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างถูกต้องปลอดภัย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ อสม.มีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 อสม.มีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี
2
เพื่อให้ อสม.สามารถใช้ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร ชุดทดสอบสารสเตียรอยด์ในยาชุด ยาสมุนไพร รวมทั้งเครื่องสำอางได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 อสม.สามารถใช้ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร ชุดทดสอบสารเตียรอยด์ในยาชุด ยาสมุนไพร รวมทั้งเครื่องสำอางได้อย่างถูกต้อง
100.00
100.00
3
เพื่อให้ อสม.ได้มีการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และได้ช่วยเหลือเพื่อนๆ ครอบครัว และชุมชน ด้วยการให้ความรู้การบริโภคอย่างเหมาะสม ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 อสม.มีความรู้จากการปฏิบัติจริง
100.00
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
55
55
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
55
55
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ อสม.มีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี (2) เพื่อให้ อสม.สามารถใช้ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร ชุดทดสอบสารสเตียรอยด์ในยาชุด ยาสมุนไพร รวมทั้งเครื่องสำอางได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อให้ อสม.ได้มีการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และได้ช่วยเหลือเพื่อนๆ ครอบครัว และชุมชน ด้วยการให้ความรู้การบริโภคอย่างเหมาะสม ปลอดภัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏฺิบัติการให้ความรู้เรื่องการเลือกอาหารปลอดภัย (2) กิจกรรมตรวจสารปนเปื้อน 9 ชนิด
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ อสม.ตำบลสะพานไม้แก่น ร่วมใจ สร้างชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครอง จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L5187-01-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวชญาภา ศิริวรรณ์ นักวิชาการสาธารณสุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ อสม.ตำบลสะพานไม้แก่น ร่วมใจ สร้างชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครอง ”
ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวชญาภา ศิริวรรณ์ นักวิชาการสาธารณสุข
กุมภาพันธ์ 2568
ที่อยู่ ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L5187-01-03 เลขที่ข้อตกลง 5/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2567 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ อสม.ตำบลสะพานไม้แก่น ร่วมใจ สร้างชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครอง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะพานไม้แก่น ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม.ตำบลสะพานไม้แก่น ร่วมใจ สร้างชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครอง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ อสม.ตำบลสะพานไม้แก่น ร่วมใจ สร้างชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะพานไม้แก่น อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L5187-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2567 - 28 กุมภาพันธ์ 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,732.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะพานไม้แก่น เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากวิถีการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไปจากเดิมเป็นวิถีชีวิตแบบรีบเร่ง และเอาตัวรอดมากขึ้น มีสื่อประเภทต่างๆเข้ามามีบทบาทในสังคมปัจจุบัน เพิ่มมากขึ้นให้ผู้บริโภคอาจหลงเชื่อจนกระทั่งตัดสินใจ เลือกซื้อใช้ผลิตภัณฑ์นั้นๆ ซึ่งต่างจากในอดีตประชากรมักดำรงชีวิตแบบเอื้ออาทรอีกทั้งการผลิต ยังคงใช้วัสดุจากธรรมชาติเป็นส่วนประกอบมากกว่ารวมถึงมีการเอารัดเอาเปรียบผู้บริโภคด้วยกลวิธีต่างๆ ของผู้ผลิตยังไม่มากเช่นปัจจุบัน เด็กที่อยู่ในวัยเรียน ส่วนใหญ่มักมีพฤติกรรมในการเลือกซื้อหรือใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีสีสันต้องตา หรือกำลังอยู่ในช่วงของการโฆษณาตามสื่อประเภทต่างๆ โดยมิได้คำนึงถึงประโยชน์ อันตรายหรือความปลอดภัยสักเท่าไหร่พฤติกรรมดังกล่าวนี้อาจเกิดจากหลายสาเหตุ โดยเฉพาะหากกลุ่มเยาวชนดังกล่าวไม่ได้รับความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ประเภทต่างๆ ซึ่งผู้ผลิตได้ผลิตออกมา เพื่อสนองความต้องการของผู้บริโภคอย่างหลากหลายมีทั้งผลิตภัณฑ์ที่ถูกต้องตามมาตรฐานที่กำหนดแต่ก็ยังคงมีผลิตภัณฑ์ที่ผู้ผลิตได้แอบอ้างสรรพคุณมีการโฆษณาชวนเชื่อเกินความเป็นจริง หรืออาจมีผลิตภัณฑ์ที่มีสารปนเปื้อนเป็นอันตราย ปะปนอยู่เป็นจำนวนมาก พร้อมกันนี้ควรให้ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบสารปนเปื้อนในอาหาร และการอ่านดูข้อมูลโภชนาการจากฉลากผลิตภัณฑ์ควบคู่ไปด้วยหากเยาวชนกลุ่มดังกล่าวมีความรู้ และมีทักษะในการเลือกซื้อ ใช้ผลิตภัณฑ์ประเภทต่างๆ จะทำให้สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันจนสามารถทำให้ปัญหาด้านสุขภาพหรือปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมต่างๆลดน้อยลงได้ พร้อมทั้งให้ความรู้ ให้คำปรึกษาแก่บุคคลในครอบครัวหรือบุคคลทั่วไปได้อย่างมั่นใจ ในเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะพานไม้แก่น มีสถานประกอบการต่างๆจำนวนมาก เช่น ร้านอาหาร ร้านแผงลอย รถเร่ขายยา ตลาดนัด ร้านขายของชำในหมู่บ้านประกอบกับในยุคปัจจุบันบ้านเมืองมีความเจริญก้าวหน้า มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย การโฆษณาชวนเชื่อต่างๆเข้าถึงได้ง่ายและรวดเร็ว จึงมีความสะดวกในการซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆโดยเฉพาะการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพจากร้านชำในพื้นที่ซึ่งเป็นแหล่งกระจายสินค้าประเภทต่างๆ ให้แก่ผู้บริโภคในพื้นที่เพื่อนำมาใช้ตอบสนองต่อความต้องการของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นอาหาร เครื่องสำอาง ยาหรือของใช้ต่างๆ เครื่องอุปโภคบริโภค ซึ่งหากผู้บริโภคในพื้นที่ยังมีความเชื่อความเข้าใจผิด ขาดทักษะความรู้ที่ถูกต้อง และมีพฤติกรรมการเลือกซื้อและใช้ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้คุณภาพมาตรฐาน ก็อาจจะตกเป็นเหยื่อและได้รับอันตรายจากอุปโภคและบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้คุณภาพมาตรฐานได้ง่าย ในปีงบประมาณ 2567 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะพานไม้แก่น ได้ตระหนักถึงความสำคัญของงานคุ้มครองผู้บริโภค จึงได้จัดทำโครงการ อสม.ตำบลสะพานไม้แก่น ร่วมใจ สร้างชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครอง ดังนั้นเพื่อคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพสะพานไม้แก่น จึงมีแผนที่จะให้มีโครงการ อสม.ร่วมใจสร้างชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครอง โดยการสร้างแกนนำ อสม.ให้มีการเข้าถึงชุมชนอย่างแท้จริง เพื่อทำหน้าที่เฝ้าระวังการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานในชุมชน การโฆษณาชวนเชื่อ การเฝ้าระวังร้านชำขายยาหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานในชุมชน ฯลฯ ทั้งนี้เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัยของชาวบ้านในชุมชน เพื่อให้ชุมชนปลอดภัยจากบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ อสม.มีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี
- เพื่อให้ อสม.สามารถใช้ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร ชุดทดสอบสารสเตียรอยด์ในยาชุด ยาสมุนไพร รวมทั้งเครื่องสำอางได้อย่างถูกต้อง
- เพื่อให้ อสม.ได้มีการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และได้ช่วยเหลือเพื่อนๆ ครอบครัว และชุมชน ด้วยการให้ความรู้การบริโภคอย่างเหมาะสม ปลอดภัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฏฺิบัติการให้ความรู้เรื่องการเลือกอาหารปลอดภัย
- กิจกรรมตรวจสารปนเปื้อน 9 ชนิด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 55 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เพื่อให้ชุมชนเป็นชุมชนสีขาวปลอดภัยจากผลิตภัณฑ์ผิดกฎหมาย และประชาชนได้บริโภคผลิตภัณฑ์และอาหารที่ปลอดภัย 2.อสม.สามารถตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร และในผลิตภัณฑ์ต่างๆได้ด้วยตนเองอย่างถูกต้อง ปลอดภัย ร้อยละ 100 3.อสม.ได้รับความรู้ในการเลือกซื้ออาหาร เลือกใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างถูกต้องปลอดภัย ร้อยละ 100
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมเชิงปฏฺิบัติการให้ความรู้เรื่องการเลือกอาหารปลอดภัย |
||
วันที่ 6 สิงหาคม 2567 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้การเลือกอาหารปลอดภัย ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้อง และการใช้ชุดทดสอบตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร ชุดทดสอบสารสเตียรอยด์ในยาชุด ยาสมุนไพร รวมทั้งเครื่องสำอาง ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2568 ณ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะพานไม้แก่น ได้ดำเนินการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การให้ความรู้การเลือกอาหารปลอดภัย ผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้อง และการใช้ชุดทดสอบตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร ชุดทดสอบสารสเตียรอยด์ในยาชุด ยาสมุนไพร รวมทั้งเครื่องสำอาง โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 55 คน
|
55 | 0 |
2. กิจกรรมตรวจสารปนเปื้อน 9 ชนิด |
||
วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 14:30 น.กิจกรรมที่ทำกิจกรรมการตรวจหาสารปนเปื้อน จำนวน 9 ชนิด ได้แก่ บอแรกซ์ สารกันรา สารฟอกขาว ฟอร์มาลิน น้ำมันทอดซ้ำ โคลิฟอร์มน้ำ - น้ำแข็ง การตรวจผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง 4 ชนิด ได้แก่ กรดวิตามินเอ สเตียรอยด์ ไฮโดรควิโนน ปรอท และยาโดยใช้ชุดทอดสอบเตียรอยด์ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2568 ดำเนินการจัดกิจกรรมการตรวจหาสารปนเปื้อน จำนวน 9 ชนิด ได้แก่ บอแรกซ์ สารกันรา สารฟอกขาว ฟอร์มาลิน น้ำมันทอดซ้ำ โคลิฟอร์มน้ำ - น้ำแข็ง การตรวจผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง 4 ชนิด ได้แก่ กรดวิตามินเอ สเตียรอยด์ ไฮโดรควิโนน ปรอท และยาโดยใช้ชุดทอดสอบเตียรอยด์
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.อสม.สามารถตรวจสารปนเปื้อนในอาหารและในผลิตภัณฑ์ต่างๆ ด้วยตัวเองได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย 2.อสม.มีความรู้ในการเลือกซื้ออาหาร ผลิตภัณฑ์สุขภาพได้อย่างถูกต้องปลอดภัย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ อสม.มีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 อสม.มีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี |
|
|||
2 | เพื่อให้ อสม.สามารถใช้ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร ชุดทดสอบสารสเตียรอยด์ในยาชุด ยาสมุนไพร รวมทั้งเครื่องสำอางได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 อสม.สามารถใช้ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร ชุดทดสอบสารเตียรอยด์ในยาชุด ยาสมุนไพร รวมทั้งเครื่องสำอางได้อย่างถูกต้อง |
100.00 | 100.00 |
|
|
3 | เพื่อให้ อสม.ได้มีการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และได้ช่วยเหลือเพื่อนๆ ครอบครัว และชุมชน ด้วยการให้ความรู้การบริโภคอย่างเหมาะสม ปลอดภัย ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 อสม.มีความรู้จากการปฏิบัติจริง |
100.00 | 100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 55 | 55 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 55 | 55 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ อสม.มีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดี (2) เพื่อให้ อสม.สามารถใช้ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร ชุดทดสอบสารสเตียรอยด์ในยาชุด ยาสมุนไพร รวมทั้งเครื่องสำอางได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อให้ อสม.ได้มีการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และได้ช่วยเหลือเพื่อนๆ ครอบครัว และชุมชน ด้วยการให้ความรู้การบริโภคอย่างเหมาะสม ปลอดภัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏฺิบัติการให้ความรู้เรื่องการเลือกอาหารปลอดภัย (2) กิจกรรมตรวจสารปนเปื้อน 9 ชนิด
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ อสม.ตำบลสะพานไม้แก่น ร่วมใจ สร้างชุมชนก้าวไกลไปกับงานคุ้มครอง จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L5187-01-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวชญาภา ศิริวรรณ์ นักวิชาการสาธารณสุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......