กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโพธิ์


“ พัฒนาเครือข่ายและสร้างความเข้มแข็งของชมรมผู้สูงอายุ ตำบลควนโพธิ์ ”

ตำบลควนโพธิ์ อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายสอด บูเก็ม

ชื่อโครงการ พัฒนาเครือข่ายและสร้างความเข้มแข็งของชมรมผู้สูงอายุ ตำบลควนโพธิ์

ที่อยู่ ตำบลควนโพธิ์ อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 16/67 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2567 ถึง 31 ธันวาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"พัฒนาเครือข่ายและสร้างความเข้มแข็งของชมรมผู้สูงอายุ ตำบลควนโพธิ์ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนโพธิ์ อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พัฒนาเครือข่ายและสร้างความเข้มแข็งของชมรมผู้สูงอายุ ตำบลควนโพธิ์



บทคัดย่อ

โครงการ " พัฒนาเครือข่ายและสร้างความเข้มแข็งของชมรมผู้สูงอายุ ตำบลควนโพธิ์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนโพธิ์ อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 16/67 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2567 - 31 ธันวาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,880.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ นับแต่ปี พ.ศ.2543 เป็นต้นมา โดย 1 ใน 10 ของประชากรไทยเป็นประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ประชากรสูงอายุจะมีถึง 1 ใน 5โดยประมาณการว่าจะมีประชากรผู้สูงอายุ เพิ่มเป็นร้อยละ 30 ของประชากรทั้งหมด และในปัจจุบันผู้สูงอายุส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 85 ของจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด คือ ผู้สูงอายุที่สามารถดูแลตัวเองได้โดยไม่ต้องพึ่งผู้อื่น(กลุ่มติดสังคม) อีกร้อยละ 14 เป็นผู้สูงอายุที่ต้องพึ่งผู้อื่นบ้างในการประกอบกิจวัตรประจำวัน(กลุ่มติดบ้าน) และต้องพึ่งพาผู้อื่นทั้งหมดร้อยละ 1 ซึ่งอายุมากกว่า 80 ปี และมีแนวโน้มสัดส่วนการเพิ่มขึ้นของกลุ่มนี้มากขึ้นเรื่อยๆ แม้ว่าประชากรไทยมีอายุยืนยาวขึ้น แต่พบว่าผู้สูงอายุต้องเผชิญกับการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังและตกอยู่ในภาวะทุพพลภาพเพิ่มขึ้น โดยพบว่า ผู้สูงอายุไทยมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์เพียงร้อยละ 26 เท่านั้นและร้อยละ 95 ของผู้สูงอายุจะมีปัญหาสุขภาพโดยมีความเจ็บปวดด้วยโรคความดันโลหิตสูงมากที่สุด (ร้อยละ 41) รองลงมาคือเบาหวาน ภาวะสมองเสื่อม ข้อเสื่อมและซึมเศร้าตามลำดับ ดังนั้นหากปล่อยให้เป็นเช่นนี้จะส่งผลกระทบต่อทั้งตัวผู้สูงอายุเอง ครอบครัว รวมถึงภาครัฐที่ต้องใช้งบประมาณจำนวนมหาศาลเพื่อใช้จ่ายในการดูแลรักษาสุขภาพ ดังนั้นจึงจำเป็นที่จะต้องมีการเฝ้าดูแลสุขภาพอย่างต่อเนื่องตลอดจนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสม การจัดตั้งชมรมผู้สูงอายุ จึงเป็นกิจกรรมหนึ่ง ที่สามารถชาวยเหลือซึ่งกันและกันของผู้สูงอายุด้วยกัน สำหรับชมรมผู้สูงอายุตำบลควนโพธิ์ ได้จัดตั้งชมรมผู้สูงอายุอย่างเป็นทางการโดยกองสวัสดิการ อบต.ควนโพธิ์ ืเมื่อปี 2564 แต่การขับเคลื่อนกิจกรรมต่าง ๆ ยังมีข้อจำกัด ขาดแกนนำ ขาดงบประมาณ ขากองค์ความรู้ในการบริหารจัดการชมรมของผู้สูงอายุ ซึ่งมีจำนวนสมาชิกชมรม ทั้งหมด จำนวน 80 คน คิดเป็นร้อยละ 11.06 ของจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด ทั้งนี้จากข้อมูลสถานการณ์ดังกล่าวข้างต้น ทางชมรมผู้สูงอายุตำบลควนโพธิ์ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการสร้างเสริมความเข้มแข็งชมรมผู้สูงอายุ ส่งเสริมสุขภาพด้านร่างกาย จิตใจ และสังคมจะเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิต สนับสนุนให้ผู้สูงอายุในชุมชนมีพฤติกรรมการดูแลได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมกับวัยสูงอายุ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ
  2. เพื่อพัฒนาศํกยภาพของคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุให้เข็มแข็ง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมทบทวนสถานการณ์ของชมรมผู้สูงอายุ
  2. จัดประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุตำบลควนโพธฺ์ จำนวน3 ครั้ง
  3. ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ จำนวน 80 คน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เกิดชมรมผู้สูงอายึตำบลควนโพธิ์ ที่มีศักยภาพ สมารถบริหารงานชมรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ จำนวน 1 ชุด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีกลุ่มหรือสังกัดชมรม เพิ่มขึ้น
80.00 80.00

 

2 เพื่อพัฒนาศํกยภาพของคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุให้เข็มแข็ง
ตัวชี้วัด : คณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุมีทักษะในการบริหารจัดการชุมชม
15.00 15.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 80
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ (2) เพื่อพัฒนาศํกยภาพของคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุให้เข็มแข็ง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมทบทวนสถานการณ์ของชมรมผู้สูงอายุ (2) จัดประชุมคณะกรรมการชมรมผู้สูงอายุตำบลควนโพธฺ์ จำนวน3 ครั้ง (3) ประชุมสมาชิกชมรมผู้สูงอายุ จำนวน 80 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


พัฒนาเครือข่ายและสร้างความเข้มแข็งของชมรมผู้สูงอายุ ตำบลควนโพธิ์ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 16/67

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสอด บูเก็ม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด