กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะสาวอ


“ ปฐมวัยปลอดภัยไว้ก่อน ปี 2567 ”

ตำบลลุโบะสาวอ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางโซเฟียะห์ อีซอ

ชื่อโครงการ ปฐมวัยปลอดภัยไว้ก่อน ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลลุโบะสาวอ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L6959-2567-2-009 เลขที่ข้อตกลง 009/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"ปฐมวัยปลอดภัยไว้ก่อน ปี 2567 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลุโบะสาวอ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะสาวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ปฐมวัยปลอดภัยไว้ก่อน ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " ปฐมวัยปลอดภัยไว้ก่อน ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลุโบะสาวอ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L6959-2567-2-009 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลุโบะสาวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาความปลอดภัยและการบาดเจ็บในเด็ก แสดงให้เห็นถึงความสำคัญในการสอนให้เด็กรู้จักปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากสถานการณ์อันตราย เพื่อป้องกันอันตรายที่อาจเกิดกับตัวเด็กเอง เนื่องด้วยกระบวนการพัฒนาทางสติปัญญาของเด็กที่ยังไม่ได้พัฒนาไปถึงขั้นการเข้าใจความสัมพันธ์ของความเป็นเหตุเป็นผล ทำให้เด็กในวัยนี้เป็นวัยที่บาดเจ็บได้ง่าย และเด็กปฐมวัยยังไม่สามารถป้องกันตนเองจากสถานการณ์อันตรายได้ อีกทั้งเด็กในวัยนี้มีความอยากรู้อยากเห็นและความต้องการลงมือกระทำด้วยตนเอง ดังนั้นเด็กปฐมวัยจึงเป็นวัยที่ต้องถูกสอนและได้ปฏิบัติซ้ำๆ ในเรื่องความปลอดภัย "ความปลอดภัยเป็นสิทธิพื้นฐานของมนุษย์ (safety right is a fundamental human right) เด็กทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับการดูแลเพื่อให้เติบโต เล่น มีพัฒนาการที่ดีในสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยย่างเสมอภาคกัน เป็นหน้าที่ของรัฐ ผู้ปกครอง และทุกส่วนของสังคมจะต้องร่วมรับผิดชอบในสิทธิและความเสมอภาคนั้น" (อ้างอิงจาก โลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก : เด็กกับความปลอดภัย, รศ นพ อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์) ประกอบกับพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๒๒ การปฏิบัติต่อเด็กไม่ว่ากรณีใดให้คำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของเด็กเป็นสำคัญและไม่ให้มีการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม และ มาตรา ๖๓ โรงเรียนและสถานศึกษาต้องจัดให้มีระบบงานและกิจกรรมในการแนะแนวให้คำปรึกษาและฝึกอบรมแก่นักเรียนนักศึกษาและผู้ปกครอง เพื่อส่งเสริมความประพฤติที่เหมาะสม ความรับผิดชอบต่อสังคมและความปลอดภัยแก่นักเรียนและนักศึกษาตามหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง ความปลอดภัยจึงเป็นสิ่งที่ทุกคนคาดหวังและพึงให้เกิดกับบุคคลอันเป็นที่รักและสถานที่ที่ตนเองอยู่ รวมทั้งการดำรงการไม่เสี่ยงภัย มีความมั่นใจในการประกอบกิจกรรมต่างๆ และมีการเตรียมป้องกันไว้ล่วงหน้าอย่างถูกต้องเหมาะสม ดังนั้น โรงเรียนอนุบาลประจำตำบลลุโบะสาวอ ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการป้องกันอุบัติเหตุต่างๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นได้ง่ายกับเด็กปฐมวัย และเพื่อให้เด็กมีความรู้ความเข้าใจในการเอาตัวรอดต่อสถานการณ์ต่างที่เกี่ยวข้องได้ จึงได้จัดทำ "โครงการปฐมวัยปลอดภัยไว้ก่อน" นี้ขึ้นมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในมาตรการป้องกันความปลอดภัยเด็กปฐมวัย
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะและการปฏิบัติในการเอาตัวรอดตามเหตุการณ์จำลองที่เกิดขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการเรียนรู้ทักษะและปฏิบัติการเอาตัวรอดตามเหตุการณ์จำลอง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 151
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในมาตรการป้องกันความปลอดภัยเด็กปฐมวัย 2.กลุ่มเป้าหมายมีทักษะและการปฏิบัติในการเอาตัวรอดตามเหตุการณ์จำลองที่เกิดขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในมาตรการป้องกันความปลอดภัยเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : จำนวนร้อยละของกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันตนให้เกิดความปลอดภัย
0.00 90.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะและการปฏิบัติในการเอาตัวรอดตามเหตุการณ์จำลองที่เกิดขึ้น
ตัวชี้วัด : จำนวนร้อยละของกลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ทักษะและปฏิบัติการเอาตัวรอดตามเหตุการณ์จำลองที่เกิดขึ้น
0.00 85.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 151
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 151
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในมาตรการป้องกันความปลอดภัยเด็กปฐมวัย (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะและการปฏิบัติในการเอาตัวรอดตามเหตุการณ์จำลองที่เกิดขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการเรียนรู้ทักษะและปฏิบัติการเอาตัวรอดตามเหตุการณ์จำลอง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ปฐมวัยปลอดภัยไว้ก่อน ปี 2567 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L6959-2567-2-009

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางโซเฟียะห์ อีซอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด