โครงการตำบลมหัศจรรย์1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน รพ.สต บ้านในเมือง
ชื่อโครงการ | โครงการตำบลมหัศจรรย์1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน รพ.สต บ้านในเมือง |
รหัสโครงการ | 67-L5313-01-006 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในเมือง |
วันที่อนุมัติ | 16 สิงหาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 16 สิงหาคม 2567 - 31 ธันวาคม 2567 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 ธันวาคม 2567 |
งบประมาณ | 29,140.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางฮับเซาะห์ แอหลัง |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 29,140.00 | |||||
รวมงบประมาณ | 29,140.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 80 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 36 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 15 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ขับเคลื่อนงานมหัศจรรย์ 1,000วัน โดยในปีพ.ศ 2565 ได้ขับเคลื่อนการดำเนินงานผ่านภาคีเครือข่ายบันทึกข้อตกลงการบูรณาการความร่วมมือ การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิตกลุ่มเด็กปฐมวัย พ.ศ 2565-2569(MOU 6กระทรวง)ร่วมพัฒนาและยกระดับการดูแล ส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็กในช่วง1,000วันแรกของชีวิต ต่อเนื่องไปจนถึงเด็กอายุ5ปี ผ่านกลไกตำบลมหัศจรรย์1,000วัน Plus สู่ 2,500วัน เป็นกลไกที่เกิดจากความร่วมมือของเครือข่ายและเป็นจุดเริ่มต้นสำคัญของการส่งเสริมให้การตั้งครรภ์มีคุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัยและเด็กปฐมวัยเติบโตเต็มศักยภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในเมือง ตำบลละงู มีหมู่บ้านที่รับผิดชอบ ทั้งหมด 6หมู่บ้าน จากการดำเนินงานให้บริการสาธารณสุขในคลินิกฝากครรภ์ ANC พบว่า หญิงตั้งครรภ์ที่ตรวจพบโลหิตจาง ร้อยละ 27.78 จำนวนเด็กแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า2,500กรัม ร้อยละ 4.17 หญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับการดูแลก่อนคลอด 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ ร้อยละ 73.91 และการดำเนินงานให้บริการในคลินิกสุขภาพเด็กดี WCC เด็กอายุ 0-5ปี สูงดีสมส่วนและส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5ปี ร้อยละ 73.66เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ36.56 และเด็กกลุ่มอายุ 3ปี มีฟันผุในฟันน้ำนม ร้อยละ44.44 จากนโบายดังกล่าวซึ่งสอดคล้องกับปัญหาในพื้นที่ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในเมือง ตำบลละงู จึงได้จัดทำโครงการตำบลมหัศจรรย์1,000วัน Plus สู่ 2,500วัน ปีงบประมาณ 2567 ซึ่งเป็นกลไกและขับเคลื่อนให้เกิดความร่วมมือของภาคีเครือข่ายในการดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ไปจนถึงเด็กปฐมวัยที่มีอายุ 5ปีในชุมชน
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์ ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธุ์ ที่มีภาวะซีด น้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ14 |
0.00 | 14.00 |
2 | เพื่อเพิ่มภาวะสูงดีสมส่วน ในเด็ก0-5ปี ร้อยละเด็กอายุ0-5ปี สูงดีสมส่วน มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ64 |
0.00 | 64.00 |
3 | เพื่อให้เด็กอายุ0-5ปี มีพัฒนาการสมวัยเพิ่มขึ้น ร้อยละเด็กอายุ0-5ปี มีพัฒนาการสมวัยมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ85 |
85.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 29,140.00 | 0 | 0.00 | 29,140.00 | |
1 ก.ค. 67 - 31 ธ.ค. 67 | ส่งเสริมสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์ | 0 | 5,700.00 | - | - | ||
1 ก.ค. 67 - 31 ธ.ค. 67 | เฝ้าระวังและส่งเสริมการเจริญเติบโตเด็กปฐมวัย | 0 | 14,800.00 | - | - | ||
1 ก.ค. 67 - 31 ธ.ค. 67 | พัฒนาศักยภาพทีมพัฒนาเด็กและครอบครัว | 0 | 8,640.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 29,140.00 | 0 | 0.00 | 29,140.00 |
1.มีการจัดตั้งทีมพัฒนาเด็กและครอบครัวระดับตำบล 2.ชุมชนสามารถดูแลและมีส่วนร่วมในการดูแลหญิงตั้งครรภ์และเด็ก ในช่วง 2500 วัน ได้อย่างมีคุณภาพ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 มิ.ย. 2567 10:03 น.