กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู


“ โครงการลาหงาฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพฟัน ”

ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาววิไล บัวผิน

ชื่อโครงการ โครงการลาหงาฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพฟัน

ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5313-03-006 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลาหงาฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพฟัน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลาหงาฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพฟัน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลาหงาฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพฟัน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 67-L5313-03-006 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 56,795.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพช่องปากมีความสำคัญต่อสุขภาพของทุกคน โดยเฉพาะในเด็กนักเรียน โรคฟันผุและโรคเหงือกอักเสบเป็นปัญหาสำคัญทางทันตสุขภาพ ที่พบมากในเด็กนักเรียนระดับประถมศึกษา ซึ่งสาเหตุหลักมาจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูบุตรไม่ถูกต้อง รวมถึงการดูแลทำความสะอาดช่องปากไม่ถูกวิธีและมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมก่อให้เกิดโรคฟันผุ ทำให้เกิดการสูญเสียทั้งสุขภาพร่างกาย จิตใจ และเกิดความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจ ซึ่งเป็นโรคที่สามารถป้องกันและแก้ไขไม่ให้ลุกลามได้ โดยการให้ความรู้ สร้างทัศนคติ เพื่อให้เด็กนักเรียนปฏิบัติในการดูแลทันตสุขภาพของตนเองอย่างถูกวิธีและสามารถแก้ไขป้องกันได้     โรงเรียนบ้านลาหงา เปิดสอนตั้งแต่ระดับปฐมวัย  ถึง ระดับประถมศึกษามีเขตพื้นที่บริการ  3  หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 4 , 6 และ 15  ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล มีนักเรียนจำนวนทั้งสิ้น 337 คน เป็นนักเรียนผู้ชาย จำนวน 145 คน นักเรียนผู้หญิง จำนวน 192 คน มีผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งสิ้น จำนวน 21 คนแบ่งเป็น ผู้บริหาร จำนวน 2 คน ข้าราชการครู จำนวน 16 คน พนักงานราชการ จำนวน 1 คน แม่ครัว จำนวน 1 คน นักการภารโรง จำนวน 1 คน ปัจจุบันมีนายอุสมาน กาเจ ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านลงหงา     จากข้อมูลด้านสุขภาพและอนามัยโรงเรียนบ้านลาหงา ประจำปีการศึกษา 2566 ด้านสุขภาพฟัน นักเรียนโรงเรียนบ้านลาหงา ได้รับการตรวจฟันจำนวน 279 คน คิดเป็นร้อยละ 82.79 คน พบว่า มีปัญหาทางด้านฟันน้ำนมผุ จำนวน 163 คน คิดเป็นร้อยละ 48.37 ปัญหาด้านฟันแท้ผุ จำนวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 16.62 ปราศจากฟันแท้ผุ 229 คน คิดเป็นร้อยละ 67.95 (ข้อมูลจากรพ.สต.บ้านในเมือง) ซึ่งสาเหตุหลักมาจากการแปรงฟันไม่สะอาด ไม่ถูกหลักวิธีการที่ถูกต้อง นอกจากนั้นนักเรียนบางส่วนที่ผู้ปกครองดูแลสุขภาพช่องปากไม่ทั่วถึง ทำให้เมื่อรับประทานอาหารแล้วไม่ได้แปรงฟันหลังอาหารหรือก่อนนอน และสาเหตุหลักมาจากโรงเรียนบ้านลาหงามีพื้นที่บริการ เช่น อ่างแปรงฟัน น้อย ซึ่งไม่เพียงพอกับจำนวนนักเรียน จึงพบว่า นักเรียนโรงเรียนบ้านลาหงาแปรงฟันหลังรับประทานอาหารกลางวันไม่ครบ 100 % ส่งผลให้นักเรียนบางส่วนมีฟันแท้ผุเมื่อเทียบกับข้อมูลของทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านในเมือง
จากข้อมูลดังกล่าว โรงเรียนบ้านลาหงา จึงตระหนักและให้ความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน การให้ความรู้เกี่ยวกับการแปรงฟันที่ถูกวิธี จึงได้จัดทำโครงการลาหงาฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพฟัน เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองเห็นถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพของเด็กในฐานะที่เป็นผู้อบรมเลี้ยงดูบุตรหลาน เด็กและเยาวชนปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสม สามารถดูแลสุขภาพของตนเองและถ่ายทอดความรู้ที่มีให้กับผู้อื่น เป็นแบบอย่างที่ดีให้กับคนรอบข้าง สามารถพัฒนาและยกระดับคุณภาพของโรงเรียนด้านการจัดการสุขภาพการดูแลช่องปากของเด็กให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพปากและฟันที่ถูกวิธี
  2. เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียนบ้านลาหงามีพื้นที่สำหรับการแปรงฟันที่เพียงพอกับจำนวนนักเรียน เช่นอ่างแปรงฟัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพฟัน รุ่นที่ 2และรุ่น 3
  2. กิจกรรมฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพฟัน รุ่น ที่ 1
  3. กิจกรรมเพิ่มพื้นที่เพื่อส่งเสริมกิจกรรมการแปรงฟันในโรงเรียน
  4. ประเมินสุขภาพฟันนักเรียนประจำปี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 145
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนบ้านลาหงามีความรู้เรื่องการดูแลรักษาสุขภาพปากและฟันที่ถูกวิธี
  2. โรงเรียนบ้านลาหงามีพื้นที่สำหรับการแปรงฟันที่เพียงพอกับจำนวนนักเรียน เช่นอ่างแปรงฟัน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพปากและฟันที่ถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของนักเรียนและผู้ปกครองกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพปากและฟันที่ถูกวิธี
1.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียนบ้านลาหงามีพื้นที่สำหรับการแปรงฟันที่เพียงพอกับจำนวนนักเรียน เช่นอ่างแปรงฟัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของโรงเรียนบ้านลาหงามีพื้นที่สำหรับการแปรงฟันที่เพียงพอกับจำนวนนักเรียน เช่นอ่างแปรงฟัน
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 145
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 145
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนและผู้ปกครองมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพปากและฟันที่ถูกวิธี (2) เพื่อส่งเสริมให้โรงเรียนบ้านลาหงามีพื้นที่สำหรับการแปรงฟันที่เพียงพอกับจำนวนนักเรียน เช่นอ่างแปรงฟัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพฟัน รุ่นที่ 2และรุ่น 3 (2) กิจกรรมฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพฟัน รุ่น ที่ 1 (3) กิจกรรมเพิ่มพื้นที่เพื่อส่งเสริมกิจกรรมการแปรงฟันในโรงเรียน (4) ประเมินสุขภาพฟันนักเรียนประจำปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลาหงาฟันสวย ยิ้มใส ใส่ใจสุขภาพฟัน จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 67-L5313-03-006

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาววิไล บัวผิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด