กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง


“ โครงการอาหารเป็นยาชีวาแข็งแรง ”

ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายสกุล เล็งลัคน์กุล

ชื่อโครงการ โครงการอาหารเป็นยาชีวาแข็งแรง

ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2567-L7161-1-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาหารเป็นยาชีวาแข็งแรง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารเป็นยาชีวาแข็งแรง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอาหารเป็นยาชีวาแข็งแรง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2567-L7161-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,412.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันพฤติกรรมด้านการบริโภคอาหารของคนไทยหลายเรื่องยังน่าเป็นห่วง โดยเฉพาะการบริโภคอาหารที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ การดื่มเครื่องดื่มที่มีรสหวาน การกินผักและผลไม้ที่ไม่เพียงพอ การบริโภคอาหารที่เสี่ยงต่อสุขภาพ หากบริโภคอย่างไม่พอดี หรือไม่มีการออกกำลังกายร่วมด้วย อาจเพิ่มปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs หรือ non-communicable diseases) เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด นำมาซึ่งผลกระทบทางสุขภาพในระยะยาว และเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลที่สูง จากรายงานผลสำรวจพฤติกรรมสุขภาพของคนไทยในปี 2560 – 2564 จากระบบข้อมูล H4U ของกรมอนามัย พบคนไทยเกินครึ่งกินผักไม่เพียงพอ การบริโภคน้ำตาลและไขมันมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆซึ่งสอดคล้องกับข้อมูลการเจ็บป่วยของประชาชนในอำเภอเบตง โรงพยาบาลเบตง แผนกผู้ป่วยนอกอายุรกรรม มีนัดติดตามอาการ จำนวน 17,989 ครั้ง ในปีงบประมาณ 2564 จำนวน 19,691 ครั้ง ในปีงบประมาณ 2565 และจำนวน 22,470 ครั้ง ในปีงบประมาณ 2566 (ข้อมูลวันที่ 30 ต.ค.2566) เห็นได้ว่าประชาชนในพื้นที่อำเภอเบตงมีแนวโน้มผู้ป่วยด้วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(non-communicable diseases ; NCDs) เพิ่มขึ้นทุกปี ทั้งนี้กลุ่มโรค NCDs นั้น ล้วนเกิดจากนิสัยหรือพฤติกรรม การดำเนินชีวิตของตัวเองเป็นสำคัญ ไม่ว่าจะเป็น ด้านพฤติกรรมการนอนหลับพักผ่อนที่ไม่เพียงพอ ความเครียดสะสม ขาดการออกกำลังกาย พฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอล์เป็นประจำ การสูบบุหรี่อย่างต่อเนื่อง และด้านพฤติกรรมการกินอาหารที่ไม่เหมาะสม หวานจัด เค็มจัด มันจัด กินอาหารที่มีไขมันสูง หรือกินเกินความต้องการของร่างกาย โดยจะมีการสะสมอาการอย่างช้าๆ หากไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง จะยิ่งทำให้เกิดการเรื้อรังของโรคตามมา ซึ่งเป็นผลเสียต่อตัวผู้ป่วยและคนรอบข้าง การป้องกันตนเองจากโรค NCDs นั้น ต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามแนวทาง 3 อ. คือ อาหาร ออกกำลังกาย และอารมณ์ จากการศึกษาพบว่าถึงแม้จะมีการออกกำลังกาย และดูแลควบคุมอารมณ์อย่างดีแต่หากขาดการเลือกรับประทานอาหาร รวมถึงการปรุงอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพ เช่น หวาน มัน เค็ม ก็จะนำไปสู่โรค NCDs ตามมาในที่สุดในปัจจุบันการแพทย์ได้วิจัยออกมาแล้วว่าอาหารหลายๆ ชนิดมีส่วนช่วยป้องกันโรคต่างๆ ได้ อาหารเป็นยา จึงเป็นทางเลือกหนึ่งในการบรรเทา รักษา ส่งเสริมสุขภาพ และฟื้นฟูสมรรถภาพที่ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงอย่างเท่าเทียมกัน เพราะอาหารเป็นยา คือ อาหารที่มีผัก ผลไม้พื้นบ้าน และสมุนใพรในท้องถิ่นเป็นส่วนประกอบ ปลอดจากเชื้อโรค สารเคมี และสารพิษ มีคุณค่าทางโภชนาการในปริมาณและสัดส่วนที่เหมาะสมจึงมีส่วนช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันและลดความเสี่ยงการเป็นโรคไม่ติดต่อเรื่อรัง (NCDs) ตัวอย่างอาหารเป็นยาที่หาได้ง่ายใกล้ตัวเรา เช่น ขิง ช่วยในการย่อยอาหาร ช่วยให้ร่างกายอบอุ่น ช่วยขับเหงื่อ ช่วยแก้หวัด แก้ไอ ขับเสมหะ ลดอาการจุกเสียด พริกหยวก พริกหวาน พริกขี้หนู มีสารในกลุ่มนิโคติน ป้องกันและชะลอโรคอัลไซเมอร์ และโรคพาร์กินสัน ขมิ้นชัน แก้โรคกระเพาะ แก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ ขับลมในกระเพาะ กะเพรา แก้ปวดท้อง ท้องขึ้น แก้ลม ขับลม แจ้จุกเสียด แน่นในท้อง เป็นต้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองเบตง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกบริโภคอาหารซึ่งส่งผลต่อสุขภาพโดยตรง จึงได้จัดทำโครงการอาหารเป็นยาชีวาแข็งแรง เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทั่วไปมีความรู้ในการเลือกบริโภคได้ถูกต้องอย่างเหมาะสม ตามหลักการส่งเสริมสุขภาพด้วยวิถีอาหารเป็นยา อนึ่งการดำเนินโครงการดังกล่าวจะส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพดีถ้วนหน้าต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. (เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  2. เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารได้ถูกต้องอย่างเหมาะสมกับโรคและวัย
  3. เพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติในการบริโภคอาหารให้มีความถูกต้องเหมาะสมกับโรคและวัย
  4. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการประกอบอาหารเป็นยาได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการอาหารเป็นยาชีวาแข็งแรง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 140
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารได้ถูกต้องอย่างเหมาะสมกับโรคและวัย
  2. กลุ่มเป้าหมายมีทัศนคติในการบริโภคอาหารอย่างเหมาะสมกับโรคและวัย
  3. กลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการประกอบอาหารเป็นยาได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 (เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารได้ถูกต้องอย่างเหมาะสมกับโรคและวัย
ตัวชี้วัด : ส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารได้ถูกต้องอย่างเหมาะสมกับโรคและวัย ร้อยละ 80%
0.00

 

3 เพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติในการบริโภคอาหารให้มีความถูกต้องเหมาะสมกับโรคและวัย
ตัวชี้วัด : ปรับเปลี่ยนทัศนคติในการบริโภคอาหารให้มีความถูกต้องเหมาะสมกับโรคและวัย ร้อยละ 80%
0.00

 

4 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการประกอบอาหารเป็นยาได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการประกอบอาหารเป็นยาได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 80%
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 140
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 140
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) (เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค) (2) เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการเลือกบริโภคอาหารได้ถูกต้องอย่างเหมาะสมกับโรคและวัย (3) เพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติในการบริโภคอาหารให้มีความถูกต้องเหมาะสมกับโรคและวัย (4) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะในการประกอบอาหารเป็นยาได้อย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการอาหารเป็นยาชีวาแข็งแรง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอาหารเป็นยาชีวาแข็งแรง จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2567-L7161-1-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสกุล เล็งลัคน์กุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด