กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมายอ


“ โครงการกระบวนการการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลหลักในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก 2-5 ปี ”

ตำบลมายอ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
เจ๊ะฟารีด๊ะ อับดุลสอมัด

ชื่อโครงการ โครงการกระบวนการการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลหลักในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก 2-5 ปี

ที่อยู่ ตำบลมายอ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 06-L7001-67 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการกระบวนการการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลหลักในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก 2-5 ปี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมายอ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมายอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการกระบวนการการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลหลักในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก 2-5 ปี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการกระบวนการการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลหลักในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก 2-5 ปี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมายอ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 06-L7001-67 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมายอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโภชนาการในเด็กเป็นพื้นฐานสำคัญต่อการมีสุขภาพที่ดีในระยะยาวและมีบทบาทสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กโดยเฉพาะกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี เป็นเด็กวัยก่อนเรียนซึ่งเป็นวัยเริ่มแรกของการเข้าสู่สังคมโรงเรียน เป็นวัยที่มีการเรียนรู้อย่างรวดเร็ว เริ่มมีสังคมเพื่อน สังคมโรงเรียน ถ้าได้รับการส่งเสริมสุขภาพที่ดีจะเป็นทรัพยากรและพลังสำคัญของประเทศชาติต่อไป จากข้อมูลสถานการณ์ภาวะโภชนาการของเด็กไทยในฐานข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข พบเด็กอ้วนสูงกว่าค่าเป้าหมายที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด คือไม่เกินร้อยละ 10 ตั้งแต่ปี 2561-2563 จากร้อยละ 11.8, 13.6 และ 12.78 ตามลำดับ และเด็กเตี้ย พบสูงกว่าค่าเป้าหมาย ร้อยละ 5 ในช่วงเวลาเดียวกัน ร้อยละ 5.7 8.9 และ 5.9 ตามลำดับ (บัญชา ค้าขอ,2563)นอกจากนี้ผลสำรวจ ระบุว่า เด็กอายุน้อยกว่า 5 ปีในประเทศไทย ร้อยละ 13 มีภาวะเตี้ยแคระแกร็น ซึ่งเป็นผลมาจากการขาดสารอาหารที่มีประโยชน์อย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานาน ในขณะเดียวกัน เด็กอายุน้อยกว่า 5 ปี ร้อยละ 8 มีภาวะผอมแห้ง และร้อยละ 9 มีน้ำหนักเกิน ซึ่งเพิ่มจากปี 2558 ที่ภาวะเตี้ยแคระแกร็น ผอมแห้ง หรือน้ำหนักเกิน อยู่ที่ร้อยละ 11, 5 และ 8 ตามลำดับ(Hfocus,2563) ในขณะที่ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี (HDC ) พบว่าภาวะโภชนาการของเด็กอายุ 2-5 ปี จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2566 ไตรามาสที่ 3 ด้านดัชนีส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ มีภาวะเตี้ย 10.86 % และภาวะค่อนช้างเตี้ย 11.22 % ด้านดัชนีน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง ภาวะผอม 5.14 % และภาวะค่อนข้างผอม 4.92%.
จากข้อมูลการสุ่มประเมินผู้ดูแลหลัก ในตำบลมายอ ทุกๆ 3 เดือน ในปี 2564 - 2565 จำนวน 144 คน ในกลุ่มเด็ก อายุ 2-5 ปี คัดกรองได้ 126 คน คิดเป็นร้อยละ 87.50 % พบว่า เด็กอายุ 2-5 ปี มีดัชนีส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ(ภาวะเตี้ย)ที่มีภาวะค่อนข้างเตี้ยหรือไม่สูงดีสมส่วน คิดเป็นร้อยละ 50 % และพบว่าเด็กอายุ 2-5 ปี มีดัชนีน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง (ภาวะผอม สมส่วน ภาวะอ้วนและเริ่มอ้วน) ที่มีภาวะน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 15.87 %. จากการลงพื้นที่การสุ่มประเมินผู้ดูแลหลักดังกล่าวทำให้ทราบว่า ผู้ดูแลหลักขาดความรู้และทักษะในการดูแลเด็กด้านโภชนาการและการเจริญเติบโต มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมตามวัย การบริโภคอาหารไม่ครบ 3 มื้อ และปริมาณอาหารที่ควรบริโภคในแต่ละกลุ่มอย่างเพียงพอเหมาะสมในแต่ละวันตามช่วงวัย นอกจากนี้ยังพบว่าผู้ดูแลหลักยังขาดความรู้การเฝ้าระวังในเด็กค่อนผอม/เด็กค่อนเตี้ย การประเมินพฤติกรรมบริโภคอาหารของเด็ก รวมถึงความรู้เรื่องอาหารเด็กผอม ขาดความรู้ความเข้าใจในการจุดกราฟในสมุดสีชมพูเพื่อประเมินแนวโน้มการเจริญเติบโตของเด็กส่งผลให้ไม่ทราบถึงปัญหาการเจริญเติบโตที่เหมาะสมตามวัยรวมถึงปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็ก นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กส่วนใหญ่มีปัญหาสุขภาพ ซึ่งจะมีน้ำมูกตลอดเวลา มีภาวะท้องอืด ท้องผูกบ้าง ซึ่งส่งผลกระทบต่อการบริโภคอาหารของเด็กในแต่ละมื้อได้ ทำให้เด็กบริโภคอาหารได้น้อยลง หรือปฏิเสธการรับประทานอาหารที่จำเป็นและมีประโยชน์ ถ้าหากมีการเพิ่มทักษะเกี่ยวกับศาสตร์แพทย์แผนไทยเกี่ยวกับการล้างจมูก การนวดปาก การเคาะปอดและการนวดท้องในเด็กให้กับผู้ดูแลหลักอาจจะทำให้ภาวะทุพโพชนาการในเด็กดีขึ้นได้ ดังนั้นจากการลงพื้นที่สุ่มประเมินผู้ดูแลหลักดังกล่าวส่งผลให้เจ้าหน้าที่ศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลตำบลมายอ มีแนวคิดจัดทำโครงการกระบวนการการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลหลักในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กอายุ 2 – 5 ปี ในตำบลมายอ อำเภอมายอ จ.ปัตตานีขึ้น เพื่อให้ผู้ดูแลหลักมีความรู้และทักษะในการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการของเด็กอายุ 2- 5 ปี และสำรวจหาสาเหตุภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 2- 5 ปี เพื่อสร้างความตระหนักให้ครอบครัวและชุมชนได้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนางานด้านสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง และเพื่อให้เด็กมีโภชนาการที่ดี อันจะส่งผลต่อการพัฒนาการด้านสติปัญญา การเจริญเติบโตที่ดีเด็กฉลาด เรียนรู้เร็ว มีความสนใจต่อสิ่งแวดล้อมและร่างกายเหมาะสมตามวัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ผู้ดูแลหลักมีความตระหนักและมั่นใจในการเฝ้าระวังเด็ก 2-5 ปีอย่างถูกต้องและต่อเนื่อง
    2. ผู้ดูแลหลักมีองค์ความรู้ และสามารถป้องกันภาวะทุโภชนาการ เด็ก2-5 ปี ในพื้นที่ได้ 3. มีระบบเฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็กอายุ2- 5 ปี โดยการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลหลัก


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการกระบวนการการมีส่วนร่วมของผู้ดูแลหลักในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก 2-5 ปี จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 06-L7001-67

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( เจ๊ะฟารีด๊ะ อับดุลสอมัด )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด