กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก


“ โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทย “ความรู้เรื่องสมุนไพร และกัญชาทางการแพทย์แผนไทย” ประจำปี 2567 ”



หัวหน้าโครงการ
นางไพลิน โคตรมิตร

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทย “ความรู้เรื่องสมุนไพร และกัญชาทางการแพทย์แผนไทย” ประจำปี 2567

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 38

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทย “ความรู้เรื่องสมุนไพร และกัญชาทางการแพทย์แผนไทย” ประจำปี 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทย “ความรู้เรื่องสมุนไพร และกัญชาทางการแพทย์แผนไทย” ประจำปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทย “ความรู้เรื่องสมุนไพร และกัญชาทางการแพทย์แผนไทย” ประจำปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การส่งเสริมสุขภาพ เป็นกระบวนการปฏิบัติเพื่อให้เกิดสุขภาพทั้งกายและใจให้แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติ ซึ่งประชาชนส่วนใหญ่ต้องมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพ แต่ขาดในเรื่องความตระหนักและจะกลับมาใส่ใจสุขภาพ เมื่อมีการเจ็บป่วยเกิดขึ้นทั้งกับตนเองหรือคนในครอบครัวจึงไม่สามารถช่วยเหลือเบื้องต้นได้อย่างทันท่วงที ประกอบกับการดำรงชีวิตในปัจจุบันที่มีความเร่งรีบ และให้ความสำคัญการทำงานเพื่อหาปัจจัยยังชีพ การพัฒนาทางด้านการแพทย์ที่ประชาชนไม่สามารถพึ่งพาตนเองหรือคนในครอบครัว ประชาชนไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้ในการดูแลรักษาสุขภาพ ทำให้การดูแลความเจ็บป่วยเบื้องต้นเหล่านั้นไปอยู่ในความดูแลของบุคลากรทางการแพทย์
กระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายส่งเสริมการใช้การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในระบบบริการสาธารณสุขทุกระดับ โดยมียุทธศาสตร์ในการดำเนินงาน เพื่อส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่มวัย ด้วยการบริการทางการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก การใช้ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับสมุนไพร เพื่อเป็นการรักษาภูมิปัญญาด้านการแพทย์แผนไทยและส่งเสริมการใช้สมุนไพร และนอกจากนี้รัฐบาลมีนโยบายการใช้กัญชาทางการแพทย์ในฐานะพืชเศรษฐกิจและผลักดันให้กัญชาเป็นพืชทางเศรษฐกิจเพื่อใช้ในการรักษาผู้ป่วย กัญชาทางการแพทย์ อาจยังเป็นเรื่องใหม่สำหรับคนไทย แต่ถ้าทุกฝ่ายทั้งภาครัฐและภาคประชาชนร่วมกันทำความรู้ ความเข้าใจ และนำไปใช้อย่างถูกวิธี ก็จะเกิดประโยชน์มหาศาลทั้งด้านการรักษาทางการแพทย์ ตลอดจนด้านเศรษฐกิจของประเทศในอนาคต การเข้าถึงบริการกัญชาทางการแพทย์ สารสกัดจากกัญชาเป็นประโยชน์ทางการแพทย์ แต่ขณะนี้การนำกัญชามาใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ต้องผ่านกระบวนการเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้ป่วยมากที่สุดและเกิดผลข้างเคียงน้อยที่สุด รวมทั้งถูกต้องตามกฎหมาย และไม่ผิดหลักการของศาสนา
งานแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอก เล็งเห็นถึงความสำคัญของการพัฒนาองค์ความรู้ด้านการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น และการใช้สมุนไพรกัญชาอย่างถูกต้อง ถูกวิธี และถูกต้องตามหลักการศาสนา เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการอย่างปลอดภัย นอกจากนี้ยังเล็งเห็นถึงความสำคัญในการให้ความรู้เกี่ยวกับกัญชาในสถานศึกษา ซึ่งสถานศึกษากำหนดเป็นมาตรการป้องกันและเฝ้าระวังปัญหาที่อาจเกิดจากการใช้กัญชาในนักเรียน นักศึกษา หรือบุคลากร ในสถานศึกษา ประกอบกับประกาศ กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) เรื่อง สมุนไพรควบคุม (กัญชา) พ.ศ.2565 กำหนดให้ผู้ที่มีอายุต่ำกว่า 20 ปี ไม่สามารถใช้และเข้าถึงกัญชาได้" งานแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเตงนอกได้เห็นความสำคัญดังกล่าว จึงจัดโครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทย “ความรู้เรื่องสมุนไพรและกัญชาทางการแพทย์แผนไทย” ประจำปี 2567 ให้แก่กลุ่มประชาชนที่เป็นแกนนำชุมชน กลุ่มแกนนำนักเรียนนักเรียน ในโรงเรียน จำนวน 3 โรงเรียน เพื่อเพิ่มความรู้ ความเข้าใจในการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ และการใช้สมุนไพรกัญชาอย่างถูกต้อง และสามารถเผยแพร่ความรู้ให้แก่คนในครอบครัวและชุมชนได้อย่างถูกต้องอีกด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มแกนนำประชาชนและกลุ่มแกนนำนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพเบื้องต้นและรู้จักสมุนไพรกัญชา
  2. เพื่อให้กลุ่มแกนนำประชาชนและกลุ่มแกนนำนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรกัญชาในการรักษาโรคเบื้องต้น
  3. เพื่อให้กลุ่มแกนนำประชาชนและกลุ่มแกนนำนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของสมุนไพรกัญชามากขึ้น และสามารถเผยแพร่ความรู้ให้กับคนในครอบครัวและชุมชนได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มแกนนำประชาชนและกลุ่มแกนนำนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพเบื้องต้นและรู้จักสมุนไพรกัญชามากขึ้น
  2. กลุ่มแกนนำประชาชนและกลุ่มแกนนำนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการนำสมุนไพรกัญชาในการรักษาโรคเบื้องต้น รู้จักโทษ และประโยชน์ของสมุนไพรกัญชามากขึ้น
  3. กลุ่มแกนนำประชาชนและกลุ่มแกนนำนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและสามารถนำความรู้ที่ได้เผยแพร่ให้กับคนในครอบครัวและชุมชนได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มแกนนำประชาชนและกลุ่มแกนนำนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพเบื้องต้นและรู้จักสมุนไพรกัญชา
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพเบื้องต้นและรู้จักสมุนไพรกัญชา
0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มแกนนำประชาชนและกลุ่มแกนนำนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรกัญชาในการรักษาโรคเบื้องต้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของกลุ่มเป้าหมายสามารถมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรกัญชาในการรักษาโรคเบื้องต้น
0.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มแกนนำประชาชนและกลุ่มแกนนำนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของสมุนไพรกัญชามากขึ้น และสามารถเผยแพร่ความรู้ให้กับคนในครอบครัวและชุมชนได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของสมุนไพรกัญชามากขึ้น และสามารถเผยแพร่ความรู้ให้กับคนในครอบครัวและชุมชนได้
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มแกนนำประชาชนและกลุ่มแกนนำนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพเบื้องต้นและรู้จักสมุนไพรกัญชา (2) เพื่อให้กลุ่มแกนนำประชาชนและกลุ่มแกนนำนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สมุนไพรกัญชาในการรักษาโรคเบื้องต้น (3) เพื่อให้กลุ่มแกนนำประชาชนและกลุ่มแกนนำนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของสมุนไพรกัญชามากขึ้น และสามารถเผยแพร่ความรู้ให้กับคนในครอบครัวและชุมชนได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการแพทย์แผนไทย “ความรู้เรื่องสมุนไพร และกัญชาทางการแพทย์แผนไทย” ประจำปี 2567 จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางไพลิน โคตรมิตร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด