กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการชุมชนมัสยิดกลางปัตตานีร่วมใจ รณรงค์ตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ประจำปี 2567 (ประเภที่ 2)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี


“ โครงการชุมชนมัสยิดกลางปัตตานีร่วมใจ รณรงค์ตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ประจำปี 2567 (ประเภที่ 2) ”

ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายภูดิศ สมัยอุดม

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนมัสยิดกลางปัตตานีร่วมใจ รณรงค์ตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ประจำปี 2567 (ประเภที่ 2)

ที่อยู่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 67-L7884-2-18 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 กรกฎาคม 2567 ถึง 31 มีนาคม 2568


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนมัสยิดกลางปัตตานีร่วมใจ รณรงค์ตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ประจำปี 2567 (ประเภที่ 2) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนมัสยิดกลางปัตตานีร่วมใจ รณรงค์ตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ประจำปี 2567 (ประเภที่ 2)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนมัสยิดกลางปัตตานีร่วมใจ รณรงค์ตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ประจำปี 2567 (ประเภที่ 2) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 67-L7884-2-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 กรกฎาคม 2567 - 31 มีนาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,959.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในสภาวะปัจจุบัน สภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ก่อให้เกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง เป็นภัยเงียบที่ส่งผลต่อสุขภาพ ทำให้เกิดการเจบป่วย ความพิการ การสูญเสียสุขภาวะ คุณภาพชีวิต และตายก่อนวัยอันควรจำนวนมาก เป็นภาระการรักษาดูแลพยาบาลและค่าใช้จ่ายทั้งของครอบครัว ชุมชน และประเทศชาติ ข้อมูลจากฐานข้อมูลผู้ป่วยนอกรายบุคคล และฐานข้อมูลชดเชยค่าบริการทางการแพทย์ สปสช. ที่ได้รับการวินิจฉัยโรคเรื้อรัง พบว่าภาวะการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังของประชาชนในตำบลจะบังติกอ มีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 225 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 3,431 ต่อแสนประชากร โรคเบาหวาน จำนวน 145 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 2,211 ต่อแสนประชากร และโรคเบาหวานร่วมกับโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 79 รายคิดเป็นอัตราป่วย 1,205 ต่อแสนประชากร (ระบบสารสนเทศเพื่อการกำกับติดตามระดับเขต สปสช.12 สงขลา)
ชุมชนมัสยิดกลางปัตตานี เป็นชุมชน 1 ในตำบลจะบังติกอ ซึ่งได้รับการจัดตั้งเป็นชุมชนใหม่ เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2566 มีจำนวนหลังคาเรือน 455 หลังคาเรือน จำนวนประชากร 1,040 คน มีผู้ป่วยโรคเรื้อรังทั้งหมด จำนวน 72 ราย ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 59 ราย โรคเบาหวาน จำนวน 12 ราย เป็นโรคเบาหวานร่วมกับโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 42 ราย   จากสถานการณ์การเจ็บป่วยดังกล่าว จะเห็นได้ว่าประชาชนในชุมชนมีการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงจำนวนมาก ทั้งนี้เพื่อค้นหาปัญหาหรือสาเหตุการเกิดโรค ตลอดจนการลดความเสี่ยงและโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนที่จะมีความรุนแรงและกระทบต่อภาวะสุขภาพ ด้วยเหตุนี้ทางชุมชนมัสยิดกลางปัตตานี ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในชุมชน จึงได้เสนอโครงการชุมชนมัสยิดกลางปัตตานีร่วมใจ รณรงค์ตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ประจำปี 2567 ขึ้น เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรังชุมชน มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพป้องกันการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วยในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป 2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงได้รับการเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง เหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. อสม. มีความรู้ ความเข้าใจในการตรวจคัดกรองสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
    2. ประชาชนอายุ 35 ปี ขึ้นไปในเขตชุมชนมัสยิดกลางปัตตานี ได้รับการคัดกรองภาวะสุขภาพ
    3. ประชาชนในกลุ่มเสี่ยง มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
    4. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงได้รับการส่งต่อและดูแลรักษาที่เหมาะสม

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป 2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงได้รับการเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง เหมาะสม
    ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง 2. ร้อยละ 100 ของประชากรกลุ่มเสี่ยงสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับพฤติกรรมด้านสุขภาพ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในประชาชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป  2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงได้รับการเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง เหมาะสม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชุมชนมัสยิดกลางปัตตานีร่วมใจ รณรงค์ตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง ประจำปี 2567 (ประเภที่ 2) จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 67-L7884-2-18

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายภูดิศ สมัยอุดม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด