กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชากรวัยทำงาน ลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๗ ”

ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม โดย นายชัยณรงค์ ศรประสิทธิ์ ตำแหน่งนายกเทศมนตรีตำบลพะตง

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชากรวัยทำงาน ลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๗

ที่อยู่ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ ุึ67-L7890-01-004 เลขที่ข้อตกลง 14

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชากรวัยทำงาน ลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๗ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชากรวัยทำงาน ลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๗



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชากรวัยทำงาน ลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๗ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ุึ67-L7890-01-004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 มิถุนายน 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 98,770.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากรายงานประจำปี ๒๕๖๕ กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ระบุว่ากลุ่มโรค NCDs (Noncommunicable diseases หรือโรคไม่ติดต่อ) เป็นปัญหาสุขภาพและการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของประเทศไทย โดยผลการสำรวจ NHES (การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย)ครั้งที่ 6 พบว่า ประชากรไทยร้อยละ 48.8 หรือเกือบครึ่งหนึ่งไม่ทราบว่าตนเองเป็นโรคความดันโลหิตสูง และ 1 ใน 3 ไม่ทราบว่าตนเองเป็นโรคเบาหวาน และไม่ทราบตัวเลขและความเสี่ยงของตนเอง โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ถือเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ หลอดเลือดสมอง มะเร็ง ฯลฯ เป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อนทำให้เกิดความพิการและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร การเกิดโรคมีสาเหตุจากหลายปัจจัยเสี่ยงที่มาจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย และนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อน อาทิ โรคไตวายเรื้อรัง โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นต้น
โรคความดันโลหิตสูง ถือเป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดที่ก่อให้เกิดโรคหลอดเลือดสมอง เนื่องจากหัวใจมีแรงดันเลือดสูงขึ้น ส่งผลให้ผนังหลอดเลือดขาดความยืดหยุ่น และแตกเปราะง่ายจึงเป็นสาเหตุของโรคหลอดเลือดสมองแตก การป้องกันโรคจำเป็นต้องให้ความรู้ กระตุ้นเตือน และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เหมาะสม ซึ่งผลการวิจัยระบุว่าแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ ได้แก่ การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง การรับรู้ความรุนแรงของการเกิด โรคหลอดเลือดสมอง การรับรู้ประโยชน์ของการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติ เพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง การรับรู้ความสามารถของตนเองในการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองมีผลต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้ (กรรณิการ์ เงินดี, 2563) และการควบคุมความดันโลหิตให้ปกติอย่างสม่ำเสมอ สามารถลดโอกาสเกิดโรคอัมพฤกษ์อัมพาตได้ (สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย, 2563)รวมถึงผลการศึกษาที่ระบุว่าการป้องกันโดยการปรับเปลี่ยนปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดโรค ได้แก่ ความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงหลักที่ทำให้เกิดโรคหลอดเลือดสมองมากที่สุด อีกทั้งภาวะไขมันในเลือดสูง โรคเบาหวาน การสูบบุหรี่หรือการรับควันบุหรี่จากผู้อื่น การบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และภาวะอ้วนซึ่งบุคคลสามารถป้องกันโรคหลอดเลือดสมองได้ด้วยการเริ่มต้นดูแลเอาใจใส่สุขภาพของตนเอง โดยการหมั่นตรวจสุขภาพ และลดความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดภาวะสมองขาดเลือด (ชลธิรา กาวไธสง และรุจิรา ดวงสงค์, 2557) ข้อมูลกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปีงบประมาณ ๒๕๖๖ ในเขตเทศบาลตำบลพะพะตง มีอัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูง ๑๙๐ ราย โรคเบาหวาน ๒๕๑ ราย และโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน ๖๕ ราย (ระบบคลังข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจังหวัดสงขลา) จากข้อมูลดังกล่าว ประชากรวัยทำงานเป็นกลุ่มเสี่ยงในการเกิดโรค ซึ่งประชากรกลุ่มนี้ให้ความสำคัญกับการทำงาน ประกอบอาชีพหารายได้มากกว่าการดูแลสุขภาพตนเอง ชีวิตรีบเร่ง มีความเครียดจากการทำงาน ประกอบกับพฤติกรรมการรับประทานอาหารไม่เหมาะสม ดื่มเหล้า สูบบุหรี่ ความเครียด ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้ ส่งผลต่อการเกิดโรค ดังนั้นงานส่งเสริมสุขภาพ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลพะตง จึงจัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชากรวัยทำงาน ลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๗ ขึ้น เพื่อตรวจคัดกรองความเสี่ยงด้านโรคไม่ติดต่อเรื้องรังในกลุ่มวัยทำงาน เพื่อเฝ้าระวังความเสี่ยงด้านสุขภาพของกลุ่มวัยทำงาน และเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มวัยทำงาน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
  2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  3. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)
  4. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
  5. 1.เพื่อคัดกรองความเสี่ยงและเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ของประชากรกลุ่มวัยทำงานที่เป็นกลุ่มเสี่ยง
  6. 2. ประชากรวัยทำงานที่เป็นกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ เรื่องโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างเหมาะสม
  7. 3.อัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังรายใหม่ลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดกิจกรรมออกำกำลังและติดตามผล
  2. ประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ
  3. จัดตั้งจุดบริการสุขภาพ
  4. คัดกรองสุขภาพ
  5. อบรมให้ความรู้
  6. มอบรางวัล
  7. สรุปผลโครงการ
  8. ๑.ประชาสัมพันธ์รับสมัครประชากรกลุ่มวัยทำงานอายุ ๒๕ - ๖๐ ปีเข้ารับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
  9. ๒. จัดตั้งจุดบริการสุขภาพดีวัยทำงานเทศบาลตำบลพะตง “จุดบริการสุขภาพเบื้องต้น เพื่อคัดกรองความเสี่ยงสุขภาพโรคไม่เรื้อรังในประชากรวัยทำงาน” - ไวนิล/ป้ายสติ๊กเกอร์โฟมบอร์ด ประชาสัมพันธ์เชิญชวนการใช้บริการ - คู่มือสุขภาพ
  10. ๓. คัดกรองความเสี่ยงสุขภาพด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในประชากรกลุ่มวัยทำงาน
  11. ๔. จัดอบรมให้ความรู้ และการปฏิบัติตน เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคอ้วน ให้กับกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการคัดกรอง จำนวน ๕๐ คน
  12. ๕.จัดกิจกรรมทางการด้วยการเต้นแอโรบิค ทุกวันพุธ เวลา ๑๕.๓๐ - ๑๖.๓๐ น.จำนวน ๑๐ ครั้ง ตั้งแต่ ๑๐ กรกฎาคม - ๑๑กันยายน ๒๕๖๗
  13. ๖. ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง โรคอ้วน เดือนละ ๑ ครั้ง จำนวน ๓ ครั้ง โดยการชั่งน้ำหนัก วัดความดันโลหิต ตรวจวัดน้ำตาลในเลือด
  14. ๗. มอบรางวัล “บุคคลต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพ” จำนวน ๓ รางวัล เพื่อเป็นการดึงดูดความสนใจให้กลุ่มเป้าหมายหันมาดูแลสุขภาพตนเอง
  15. 8. สรุปและรายงานผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ประชากรกลุ่มวัยทำงาน ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ๒. ประชากรกลุ่มวัยทำงาน สามารถเข้าถึงบริการตรวจวัดความดันโลหิตได้สะดวก สามารถจัดการตนเองเพื่อปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ๓. ประชากรกลุ่มวัยทำงาน ที่มีความเสี่ยงการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
30.00 50.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง
50.00 80.00

 

3 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA)
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) ลดลง
20.00 80.00

 

4 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง
50.00 80.00

 

5 1.เพื่อคัดกรองความเสี่ยงและเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ของประชากรกลุ่มวัยทำงานที่เป็นกลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรอง โรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ภาวะน้ำหนักเกิน ๒. มีฐานข้อมูลสุขภาวะสุขภาพของกลุ่มประชากรกลุ่มวัยทำงาน ๓. มีจุดให้บริการและประเมินภาวะสุขภาพของประชาชน
50.00 80.00

 

6 2. ประชากรวัยทำงานที่เป็นกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ เรื่องโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเสี่ยงไม่ป่วยเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
50.00 80.00

 

7 3.อัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังรายใหม่ลดลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๖๐ อัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังรายใหม่ลดลง
50.00 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (3) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคหลอดเลือดสมอง(CVA) (4) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (5) 1.เพื่อคัดกรองความเสี่ยงและเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ของประชากรกลุ่มวัยทำงานที่เป็นกลุ่มเสี่ยง (6) 2. ประชากรวัยทำงานที่เป็นกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ เรื่องโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างเหมาะสม (7) 3.อัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังรายใหม่ลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดกิจกรรมออกำกำลังและติดตามผล (2) ประชาสัมพันธ์รับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ (3) จัดตั้งจุดบริการสุขภาพ (4) คัดกรองสุขภาพ (5) อบรมให้ความรู้ (6) มอบรางวัล (7) สรุปผลโครงการ (8) ๑.ประชาสัมพันธ์รับสมัครประชากรกลุ่มวัยทำงานอายุ ๒๕ - ๖๐ ปีเข้ารับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (9) ๒. จัดตั้งจุดบริการสุขภาพดีวัยทำงานเทศบาลตำบลพะตง “จุดบริการสุขภาพเบื้องต้น เพื่อคัดกรองความเสี่ยงสุขภาพโรคไม่เรื้อรังในประชากรวัยทำงาน”      - ไวนิล/ป้ายสติ๊กเกอร์โฟมบอร์ด ประชาสัมพันธ์เชิญชวนการใช้บริการ    - คู่มือสุขภาพ (10) ๓. คัดกรองความเสี่ยงสุขภาพด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในประชากรกลุ่มวัยทำงาน (11) ๔. จัดอบรมให้ความรู้ และการปฏิบัติตน เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ กลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ในโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคอ้วน ให้กับกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการคัดกรอง จำนวน ๕๐ คน (12) ๕.จัดกิจกรรมทางการด้วยการเต้นแอโรบิค ทุกวันพุธ เวลา ๑๕.๓๐ - ๑๖.๓๐ น.จำนวน ๑๐ ครั้ง ตั้งแต่ ๑๐ กรกฎาคม - ๑๑กันยายน ๒๕๖๗ (13) ๖. ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในกลุ่มเสี่ยงเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง โรคอ้วน เดือนละ ๑ ครั้ง จำนวน ๓ ครั้ง โดยการชั่งน้ำหนัก วัดความดันโลหิต ตรวจวัดน้ำตาลในเลือด (14) ๗. มอบรางวัล “บุคคลต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพ” จำนวน ๓ รางวัล เพื่อเป็นการดึงดูดความสนใจให้กลุ่มเป้าหมายหันมาดูแลสุขภาพตนเอง (15) 8. สรุปและรายงานผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชากรวัยทำงาน ลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๗ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ ุึ67-L7890-01-004

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม โดย นายชัยณรงค์ ศรประสิทธิ์ ตำแหน่งนายกเทศมนตรีตำบลพะตง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด