กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต


“ โครงการชุมชนร่วมใจ ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ”

ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางรอซีตา กูโน

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจ ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

ที่อยู่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 67-L8423-1-02 เลขที่ข้อตกลง 05/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนร่วมใจ ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจ ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจ ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโงสะโต อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 67-L8423-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,750.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.บาโงสะโต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)       ในปัจจุบันโรคติดต่อที่สำคัญหลายโรคที่ไม่เกิดอันตรายต่อมนุษย์ ได้กลับมาเป็นโรคติดต่อที่อันตรายและมีความรุนแรงมาก มีผลกระทบต่อมวลมนุษย์ทั้งทางด้านสังคม เศรษฐกิจและการเมือง เช่น โรคไข้หวัดนก โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ โรคติดต่อทางระบบหายใจรุนแรงเฉียบพลัน เป็นต้น ซึ่งถือได้ว่าเป็นโรคติดต่ออุบัติใหม่ของศตวรรษที่ 21 ซึ่งก่อให้เกิดผลกระทบที่รุนแรงไปทั่วโลก โดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชียได้รับผลกระทบมากที่สุดอันเนื่องมาจากเป็นโรคที่ติดต่อง่าย ส่งผลให้เกิดการแพร่ระบาดไปยังประเทศต่างๆทั่วโลกอย่างรวดเร็ว ทำให้มีผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตไปเป็นจำนวนมาก ดังจะเห็นได้จากรายงานขององค์การอนามัยโลก จึงเป็นมูลเหตุให้เกิดความวิตก กังวล และความกลัวในวงกว้าง ทั้งในกลุ่มประชาชนทั่วไปและกลุ่มบุคคลที่มีหน้าที่เกี่ยวข้อง
        กระทรวงสาธารณสุข จึงได้เห็นชอบนโยบายอำเภอ ตำบลควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน โดยใช้อำเภอเป็นจุดเชื่อมโยงการบริหารจัดการทรัพยากรในการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ระหว่างกระทรวงสาธารณสุขและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้เกิดระบบเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพระดับอำเภอที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ทันเหตุการณ์ โดยกำหนดคุณลักษณะตำบลควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ๕ ด้าน ประกอบด้วย มีคณะกรรมการป้องกันโรคและภัยสุขภาพ มีระบบระบาดวิทยาระดับที่ดี มีการวางแผนป้องกัน ควบคมโรคและภัยสุขภาพ มีการระดมทรัพยากรหรือการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นรูปธรรม มีผลสำเร็จของการควบคุมป้องกันโรคที่สำคัญ โดยกรมควบคุมโรคได้จัดกระบวนการการระดมความคิดเห็น สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ หลักคิด ประโยชน์และแนวทางการพัฒนา “ตำบลควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” กับเครือข่ายหลักที่สำคัญ ได้แก่ สาธารณสุขอำเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล อาสาสมัครสาธารณสุข และเครือข่ายในชุมชนอื่นๆ ตลอดจนในปี 2566 ได้มีการระบาดอย่างหนักของโรคไข้เลือดในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ๊ะเก มีจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดที่สูงมาก โดยเฉพาะในสามเดือนสุดท้ายของปีการรายงานผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง สรุปปี 2566 มีจำนวนผู้ป่วยทั้งสิ้น 11 ราย คิดเป็น 314.57/ ประชากรแสนคน ด้วยปัญหาดังกล่าวจึงมีความจำเป็นที่จะต้องสร้างเครือข่ายการดำเนินงานด้านควบคุมโรคที่เข้มแข็งในพื้นที่ผ่านกระบวนการหรือกลไกตำบลควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านเจ๊ะเก จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญของ โครงการชุมชนร่วมใจ  ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ปี 2567 เพื่อสร้างทีมปฏิบัติงานระดับตำบลที่เข้มแข็ง มีระบบการเฝ้าระวังที่ดี มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล สามารถควบคุมและป้องกันโรคระบาดในชุมชนได้อย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ชุมชนมีระบบ และมาตรการเฝ้าระวังโรคติดต่อที่มีประสิทธิภาพ มีส่วนร่วมอย่างเข้มแข็งในการดำเนินการเฝ้าระวังโรค และมุ่งเน้นการป้องกันโรคมากกว่าการรักษา
  2. เพื่อให้อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ชุมชนมีระบบ และมาตรการเฝ้าระวังโรคติดต่อที่มีประสิทธิภาพ มีส่วนร่วมอย่างเข้มแข็งในการดำเนินการเฝ้าระวังโรค และมุ่งเน้นการป้องกันโรคมากกว่าการรักษา
    2. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ลดลง ไม่เกิน 50/ประชากรแสนคน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ชุมชนมีระบบ และมาตรการเฝ้าระวังโรคติดต่อที่มีประสิทธิภาพ มีส่วนร่วมอย่างเข้มแข็งในการดำเนินการเฝ้าระวังโรค และมุ่งเน้นการป้องกันโรคมากกว่าการรักษา
    ตัวชี้วัด : เพื่อให้ชุมชนมีระบบ และมาตรการเฝ้าระวังโรคติดต่อที่มีประสิทธิภาพ มีส่วนร่วมอย่างเข้มแข็งในการดำเนินการเฝ้าระวังโรค และมุ่งเน้นการป้องกันโรคมากกว่าการรักษา

     

    2 เพื่อให้อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน
    ตัวชี้วัด : อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ลดลง ไม่เกิน 50/ประชากรแสนคน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ชุมชนมีระบบ และมาตรการเฝ้าระวังโรคติดต่อที่มีประสิทธิภาพ  มีส่วนร่วมอย่างเข้มแข็งในการดำเนินการเฝ้าระวังโรค และมุ่งเน้นการป้องกันโรคมากกว่าการรักษา (2) เพื่อให้อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชุมชนร่วมใจ ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 67-L8423-1-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางรอซีตา กูโน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด