โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสตำบลพะตง ประจำปีงบประมาณ 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสตำบลพะตง ประจำปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ตำบลพะตง โดยนางสาวสุคนธ์ ชัยชนะ ตำแหน่งผู้อำนวยการสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯตำบลพะตง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสตำบลพะตง ประจำปีงบประมาณ 2567
ที่อยู่ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L7890-01-004 เลขที่ข้อตกลง 15
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสตำบลพะตง ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสตำบลพะตง ประจำปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสตำบลพะตง ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L7890-01-004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์โรคมะเร็งของไทย จากข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center) ปี 2565 พบว่า หญิงไทย พบ เป็นมะเร็งเต้านมมากที่สุด จำนวน 38,559 ราย รองลงมา คือ มะเร็งปากมดลูก จำนวน 12,956 ราย สำหรับโรคมะเร็งเต้านมส่วนมาก พบในหญิงอายุ 60 ปี ขึ้นไป มากที่สุดจำนวน 19,776 ราย รองลงมา คือ อายุ 50 – 59 ปี จำนวน 12,181 ราย และ อายุ 40 – 49 ปี จำนวน 5,177 ราย แสดงให้เห็นว่าโรคมะเร็งเต้านมเป็นภัยเงียบใกล้ตัว เนื่องจากในระยะแรกของการเป็นมะเร็งเต้านมจะไม่แสดงอาการ ไม่เจ็บ ไม่ปวด จะปรากฏอาการผิดปกติให้เห็นเมื่ออยู่ในระยะที่ก้อนมะเร็งมีการอักเสบ และลุกลามไปทั่วแล้ว ซึ่งเสี่ยงต่อการเสียชีวิตสูงมาก
กลุ่มเสี่ยงมะเร็งเต้านมพบในหญิงที่มีอายุมากขึ้น โดยเฉพาะอายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไป มีประวัติครอบครัวเป็นมะเร็งเต้านม มะเร็งรังไข่ หรือมีประวัติเคยเป็นมะเร็งเต้านมมาก่อน หรือเคยมีก้อนบริเวณเต้านม ที่ผลการตรวจพบว่าผิดปกติ หรือมีประจำเดือนครั้งแรก ก่อนอายุ 12 ปี หมดประจำเดือนหลังอายุ 55 ปี หรือเคยรับการฉายรังสีบริเวณทรวงอกก่อนอายุ 30 ปี และผู้หญิงที่สูบบุหรี่จัด ดื่มเหล้า ไม่ออกกำลังกาย โดยพบว่าผู้ที่มีอายุ 15 – 49 ปี ที่น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น 10 กิโลกรัม จะมีโอกาสเกิดมะเร็งเต้านมเพิ่มขึ้นร้อยละ 18 ในขณะที่ผู้ชายก็มีสิทธิ์เป็นมะเร็งเต้านมได้ 1 ใน 100 ของผู้ป่วยเป็นมะเร็งเต้านม กรมอนามัยจึงแนะนำให้หญิงไทย ที่มีอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป ควรเริ่มฝึกทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเอง เป็นประจำทุกเดือน ซึ่งจะทำให้รู้ถึงสภาพที่เป็นปกติของเต้านม หากเกิดความผิดปกติของเต้านมจะสามารถพบได้ ตั้งแต่ระยะแรกเริ่ม ซึ่งเมื่อคลำพบก้อนที่โตระยะขนาด 2 – 5 เซนติเมตร อัตราการรอดชีวิตมีถึง ร้อยละ 75 – 90 แต่หากคลำพบก้อนขนาด 5 เซนติเมตรขึ้นไป อัตราการรอดมีเพียงร้อยละ 15 – 30 เท่านั้น (อ้างอิง https://multimedia.anamai.moph.go.th/news/140366/)
การป้องกันมะเร็งเต้านม คือ การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ รับประทานผักและผลไม้ให้มากขึ้น ลดอาหารไขมัน และการป้องกันที่ดีที่สุด คือการตรวจพบให้เร็วที่สุด ตั้งแต่ระยะเริ่มแรก ซึ่งทำได้ ๒ วิธี คือ
๑) การตรวจเต้านมด้วยตนเอง ซึ่งสามารถคลำพบก้อนที่โตประมาณ ๑ ซม. ขึ้นไปได้ หากตรวจพบในระยะ ๒-๕ ซม.อัตราการรอดชีวิตมีถึงร้อยละ ๙๐-๗๕ หากคลำพบก้อนขนาด ๕ ซม. ขึ้นไปอัตราการรอดชีวิตมีถึงร้อยละ ๑๕-๓๐ เท่านั้น
๒) การตรวจเต้านมด้วยเครื่องเอกซเรย์เต้านม (Mammogram) จะสามารถพบก้อนได้ตั้งแต่ขนาด ๒-๓ มม. ขึ้นไป หากพบในระยะนี้การรักษาจะหายเกือบ ๑๐๐ % เพราะมะเร็งมีขนาดเล็กมากยังไม่แพร่ไปที่อื่น แต่การเอ็กซเรย์เต้านมนั้นไม่อยู่ในสิทธิประโยชน์ตามหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
จากข้อมูลประชากรของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ตำบลพะตง ณ มิถุนายน ๒๕๖๗ ตำบลพะตง มีประชากรกลุ่มเสี่ยงสตรี อายุตั้งแต่ ๓๐ ปีขึ้นไป จำนวน 1,854 ราย และข้อมูลจากการดูแลสุขภาพของประชาชนของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ตำบลพะตง พบว่า มีสตรีในพื้นที่ป่วยด้วยโรคมะเร็งเต้านมในเขตเทศบาลทั้ง 10 ชุมชน จำนวน ๙ ราย เป็นมะเร็งระยะแรก จำนวน 5 คน ระยะ 2 จำนวน 2 คน ระยะ 3 จำนวน 1 คน การรักษาอยู่ในระยะกำลังรักษา 4 คน ระยะเฝ้าติดตาม จำนวน 4 คน ไม่รักษา/ดูแลคุณภาพชีวิต จำนวน 1 คน และพบว่าตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๖4 ถึง ๒๕๖๖ มีสตรีที่เข้ารับการอบรมทักษะการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองและคัดกรองจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ จำนวน 000, 111 และ 222 ราย ตามลำดับ ซึ่งจะเห็นได้ว่าสตรีกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ตำบลพะตงส่วนใหญ่ยังขาดความรู้และทักษะในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ประกอบกับมูลนิธิกาญจนบารมี ซึ่งพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงรับเป็นองค์ประธานในการระดมทุนเพื่อจัดสร้างศูนย์บำบัดรักษาโรคมะเร็ง ภายใต้ชื่อ “โครงการกาญจนบารมีเฉลิมฉลองพระราชพิธีกาญจนาภิเษก ปีพุทธศักราช ๒๕๓๙” (อ้างอิง : https://www.kanjanabaramee.org/aboutus/) มีแผนขบวนรถหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ นำหน่วยคัดกรองฯ ประกอบด้วยรถ 4 คัน ดังนี้ รถเอกซเรย์เต้านมเคลื่อนที่ระบบสามมิติ รถเอกซเรย์เต้านมเคลื่อนที่ระบบสองมิติ รถนิทรรศการโรคมะเร็งเต้านมเคลื่อนที่ และรถตรวจมะเร็งเต้านมเคลื่อนที่มาให้บริการกับประชาชนในภาคใต้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาส และประชาชนทั่วไป มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
- เพื่อส่งเสริมให้สตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสได้รับการประเมินปัจจัยเสี่ยงโรคมะเร็งเต้านม และได้รับการตรวจ เต้านมโดยแพทย์หรือบุคลากรทางการแพทย์
- เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาอย่างทันท่วงที
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมภาคีเครือข่ายสาธารณสุขในพื้นที่
- จัดประชุมชี้แจงแนวทาง และซักซ้อม การดำเนินโครงการ เตรียมความพร้อมสำหรับจัดโครงการ
- จัดมหกรรมตรวจคัดกรองค้นหาสตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสด้วยแบบคัดกรองปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งเต้านม
- จัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติฯ และให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านม พร้อมทั้งสาธิตการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และให้สตรีกลุ่มเสี่ยงฝึกตรวจเต้านมด้วยตนเองในแบบจำลองเต้านม
- จัดบริการคัดกรองมะเร็งเต้านม
- ส่งต่อสตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาส เพื่อการรักษา
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
(๑) สตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาส และประชาชนทั่วไป มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
(๒) สตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสได้รับการประเมินปัจจัยเสี่ยงโรคมะเร็งเต้านม และได้รับการตรวจเต้านมโดยแพทย์หรือบุคลากรทางการแพทย์
(๓) สตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาส ได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาอย่างทันท่วงที
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาส และประชาชนทั่วไป มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : - จำนวนสตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสที่เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า 1,112 คน
- ร้อยละของสตรีกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการ
1112.00
2
เพื่อส่งเสริมให้สตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสได้รับการประเมินปัจจัยเสี่ยงโรคมะเร็งเต้านม และได้รับการตรวจ เต้านมโดยแพทย์หรือบุคลากรทางการแพทย์
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ ๑๐๐ ของสตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสที่ตรวจพบก้อน ได้รับการตรวจเต้านมยืนยันโดยแพทย์หรือบุคลากรทางการแพทย์
- ร้อยละ ๑๐๐ ของสตรีกลุ่มเสี่ยงที่พบก้อนได้รับการตรวจยืนยันโดนเครื่องเอกซเรย์เต้านม (Mammogram)
3
เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาอย่างทันท่วงที
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ ๑๐๐ ของสตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาส ที่มีผลการตรวจมะเร็งเต้านมเป็นบวกได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาทันที
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
200
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาส และประชาชนทั่วไป มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง (2) เพื่อส่งเสริมให้สตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสได้รับการประเมินปัจจัยเสี่ยงโรคมะเร็งเต้านม และได้รับการตรวจ เต้านมโดยแพทย์หรือบุคลากรทางการแพทย์ (3) เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาอย่างทันท่วงที
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมภาคีเครือข่ายสาธารณสุขในพื้นที่ (2) จัดประชุมชี้แจงแนวทาง และซักซ้อม การดำเนินโครงการ เตรียมความพร้อมสำหรับจัดโครงการ (3) จัดมหกรรมตรวจคัดกรองค้นหาสตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสด้วยแบบคัดกรองปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งเต้านม (4) จัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติฯ และให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านม พร้อมทั้งสาธิตการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และให้สตรีกลุ่มเสี่ยงฝึกตรวจเต้านมด้วยตนเองในแบบจำลองเต้านม (5) จัดบริการคัดกรองมะเร็งเต้านม (6) ส่งต่อสตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาส เพื่อการรักษา
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสตำบลพะตง ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L7890-01-004
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ตำบลพะตง โดยนางสาวสุคนธ์ ชัยชนะ ตำแหน่งผู้อำนวยการสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯตำบลพะตง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสตำบลพะตง ประจำปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ตำบลพะตง โดยนางสาวสุคนธ์ ชัยชนะ ตำแหน่งผู้อำนวยการสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯตำบลพะตง
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L7890-01-004 เลขที่ข้อตกลง 15
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสตำบลพะตง ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสตำบลพะตง ประจำปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสตำบลพะตง ประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 67-L7890-01-004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์โรคมะเร็งของไทย จากข้อมูลของกระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center) ปี 2565 พบว่า หญิงไทย พบ เป็นมะเร็งเต้านมมากที่สุด จำนวน 38,559 ราย รองลงมา คือ มะเร็งปากมดลูก จำนวน 12,956 ราย สำหรับโรคมะเร็งเต้านมส่วนมาก พบในหญิงอายุ 60 ปี ขึ้นไป มากที่สุดจำนวน 19,776 ราย รองลงมา คือ อายุ 50 – 59 ปี จำนวน 12,181 ราย และ อายุ 40 – 49 ปี จำนวน 5,177 ราย แสดงให้เห็นว่าโรคมะเร็งเต้านมเป็นภัยเงียบใกล้ตัว เนื่องจากในระยะแรกของการเป็นมะเร็งเต้านมจะไม่แสดงอาการ ไม่เจ็บ ไม่ปวด จะปรากฏอาการผิดปกติให้เห็นเมื่ออยู่ในระยะที่ก้อนมะเร็งมีการอักเสบ และลุกลามไปทั่วแล้ว ซึ่งเสี่ยงต่อการเสียชีวิตสูงมาก
กลุ่มเสี่ยงมะเร็งเต้านมพบในหญิงที่มีอายุมากขึ้น โดยเฉพาะอายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไป มีประวัติครอบครัวเป็นมะเร็งเต้านม มะเร็งรังไข่ หรือมีประวัติเคยเป็นมะเร็งเต้านมมาก่อน หรือเคยมีก้อนบริเวณเต้านม ที่ผลการตรวจพบว่าผิดปกติ หรือมีประจำเดือนครั้งแรก ก่อนอายุ 12 ปี หมดประจำเดือนหลังอายุ 55 ปี หรือเคยรับการฉายรังสีบริเวณทรวงอกก่อนอายุ 30 ปี และผู้หญิงที่สูบบุหรี่จัด ดื่มเหล้า ไม่ออกกำลังกาย โดยพบว่าผู้ที่มีอายุ 15 – 49 ปี ที่น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น 10 กิโลกรัม จะมีโอกาสเกิดมะเร็งเต้านมเพิ่มขึ้นร้อยละ 18 ในขณะที่ผู้ชายก็มีสิทธิ์เป็นมะเร็งเต้านมได้ 1 ใน 100 ของผู้ป่วยเป็นมะเร็งเต้านม กรมอนามัยจึงแนะนำให้หญิงไทย ที่มีอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป ควรเริ่มฝึกทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเอง เป็นประจำทุกเดือน ซึ่งจะทำให้รู้ถึงสภาพที่เป็นปกติของเต้านม หากเกิดความผิดปกติของเต้านมจะสามารถพบได้ ตั้งแต่ระยะแรกเริ่ม ซึ่งเมื่อคลำพบก้อนที่โตระยะขนาด 2 – 5 เซนติเมตร อัตราการรอดชีวิตมีถึง ร้อยละ 75 – 90 แต่หากคลำพบก้อนขนาด 5 เซนติเมตรขึ้นไป อัตราการรอดมีเพียงร้อยละ 15 – 30 เท่านั้น (อ้างอิง https://multimedia.anamai.moph.go.th/news/140366/)
การป้องกันมะเร็งเต้านม คือ การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ รับประทานผักและผลไม้ให้มากขึ้น ลดอาหารไขมัน และการป้องกันที่ดีที่สุด คือการตรวจพบให้เร็วที่สุด ตั้งแต่ระยะเริ่มแรก ซึ่งทำได้ ๒ วิธี คือ
๑) การตรวจเต้านมด้วยตนเอง ซึ่งสามารถคลำพบก้อนที่โตประมาณ ๑ ซม. ขึ้นไปได้ หากตรวจพบในระยะ ๒-๕ ซม.อัตราการรอดชีวิตมีถึงร้อยละ ๙๐-๗๕ หากคลำพบก้อนขนาด ๕ ซม. ขึ้นไปอัตราการรอดชีวิตมีถึงร้อยละ ๑๕-๓๐ เท่านั้น
๒) การตรวจเต้านมด้วยเครื่องเอกซเรย์เต้านม (Mammogram) จะสามารถพบก้อนได้ตั้งแต่ขนาด ๒-๓ มม. ขึ้นไป หากพบในระยะนี้การรักษาจะหายเกือบ ๑๐๐ % เพราะมะเร็งมีขนาดเล็กมากยังไม่แพร่ไปที่อื่น แต่การเอ็กซเรย์เต้านมนั้นไม่อยู่ในสิทธิประโยชน์ตามหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
จากข้อมูลประชากรของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ตำบลพะตง ณ มิถุนายน ๒๕๖๗ ตำบลพะตง มีประชากรกลุ่มเสี่ยงสตรี อายุตั้งแต่ ๓๐ ปีขึ้นไป จำนวน 1,854 ราย และข้อมูลจากการดูแลสุขภาพของประชาชนของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ตำบลพะตง พบว่า มีสตรีในพื้นที่ป่วยด้วยโรคมะเร็งเต้านมในเขตเทศบาลทั้ง 10 ชุมชน จำนวน ๙ ราย เป็นมะเร็งระยะแรก จำนวน 5 คน ระยะ 2 จำนวน 2 คน ระยะ 3 จำนวน 1 คน การรักษาอยู่ในระยะกำลังรักษา 4 คน ระยะเฝ้าติดตาม จำนวน 4 คน ไม่รักษา/ดูแลคุณภาพชีวิต จำนวน 1 คน และพบว่าตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๖4 ถึง ๒๕๖๖ มีสตรีที่เข้ารับการอบรมทักษะการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองและคัดกรองจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ จำนวน 000, 111 และ 222 ราย ตามลำดับ ซึ่งจะเห็นได้ว่าสตรีกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ตำบลพะตงส่วนใหญ่ยังขาดความรู้และทักษะในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม ประกอบกับมูลนิธิกาญจนบารมี ซึ่งพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงรับเป็นองค์ประธานในการระดมทุนเพื่อจัดสร้างศูนย์บำบัดรักษาโรคมะเร็ง ภายใต้ชื่อ “โครงการกาญจนบารมีเฉลิมฉลองพระราชพิธีกาญจนาภิเษก ปีพุทธศักราช ๒๕๓๙” (อ้างอิง : https://www.kanjanabaramee.org/aboutus/) มีแผนขบวนรถหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ นำหน่วยคัดกรองฯ ประกอบด้วยรถ 4 คัน ดังนี้ รถเอกซเรย์เต้านมเคลื่อนที่ระบบสามมิติ รถเอกซเรย์เต้านมเคลื่อนที่ระบบสองมิติ รถนิทรรศการโรคมะเร็งเต้านมเคลื่อนที่ และรถตรวจมะเร็งเต้านมเคลื่อนที่มาให้บริการกับประชาชนในภาคใต้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาส และประชาชนทั่วไป มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
- เพื่อส่งเสริมให้สตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสได้รับการประเมินปัจจัยเสี่ยงโรคมะเร็งเต้านม และได้รับการตรวจ เต้านมโดยแพทย์หรือบุคลากรทางการแพทย์
- เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาอย่างทันท่วงที
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมภาคีเครือข่ายสาธารณสุขในพื้นที่
- จัดประชุมชี้แจงแนวทาง และซักซ้อม การดำเนินโครงการ เตรียมความพร้อมสำหรับจัดโครงการ
- จัดมหกรรมตรวจคัดกรองค้นหาสตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสด้วยแบบคัดกรองปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งเต้านม
- จัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติฯ และให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านม พร้อมทั้งสาธิตการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และให้สตรีกลุ่มเสี่ยงฝึกตรวจเต้านมด้วยตนเองในแบบจำลองเต้านม
- จัดบริการคัดกรองมะเร็งเต้านม
- ส่งต่อสตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาส เพื่อการรักษา
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 200 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
(๑) สตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาส และประชาชนทั่วไป มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
(๒) สตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสได้รับการประเมินปัจจัยเสี่ยงโรคมะเร็งเต้านม และได้รับการตรวจเต้านมโดยแพทย์หรือบุคลากรทางการแพทย์
(๓) สตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาส ได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาอย่างทันท่วงที
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาส และประชาชนทั่วไป มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ตัวชี้วัด : - จำนวนสตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสที่เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า 1,112 คน - ร้อยละของสตรีกลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการ |
1112.00 |
|
||
2 | เพื่อส่งเสริมให้สตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสได้รับการประเมินปัจจัยเสี่ยงโรคมะเร็งเต้านม และได้รับการตรวจ เต้านมโดยแพทย์หรือบุคลากรทางการแพทย์ ตัวชี้วัด : - ร้อยละ ๑๐๐ ของสตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสที่ตรวจพบก้อน ได้รับการตรวจเต้านมยืนยันโดยแพทย์หรือบุคลากรทางการแพทย์ - ร้อยละ ๑๐๐ ของสตรีกลุ่มเสี่ยงที่พบก้อนได้รับการตรวจยืนยันโดนเครื่องเอกซเรย์เต้านม (Mammogram) |
|
|||
3 | เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาอย่างทันท่วงที ตัวชี้วัด : - ร้อยละ ๑๐๐ ของสตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาส ที่มีผลการตรวจมะเร็งเต้านมเป็นบวกได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาทันที |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 200 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 200 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาส และประชาชนทั่วไป มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง (2) เพื่อส่งเสริมให้สตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสได้รับการประเมินปัจจัยเสี่ยงโรคมะเร็งเต้านม และได้รับการตรวจ เต้านมโดยแพทย์หรือบุคลากรทางการแพทย์ (3) เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาอย่างทันท่วงที
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมภาคีเครือข่ายสาธารณสุขในพื้นที่ (2) จัดประชุมชี้แจงแนวทาง และซักซ้อม การดำเนินโครงการ เตรียมความพร้อมสำหรับจัดโครงการ (3) จัดมหกรรมตรวจคัดกรองค้นหาสตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสด้วยแบบคัดกรองปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งเต้านม (4) จัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติฯ และให้ความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านม พร้อมทั้งสาธิตการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และให้สตรีกลุ่มเสี่ยงฝึกตรวจเต้านมด้วยตนเองในแบบจำลองเต้านม (5) จัดบริการคัดกรองมะเร็งเต้านม (6) ส่งต่อสตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาส เพื่อการรักษา
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรีกลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาสตำบลพะตง ประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 67-L7890-01-004
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ตำบลพะตง โดยนางสาวสุคนธ์ ชัยชนะ ตำแหน่งผู้อำนวยการสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯตำบลพะตง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......