กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขื่อนบางลาง


“ โครงการควบคุมยาสูบโดยชุมชนตำบลเขื่อนบางลาง ”

ตำบลเขื่อนบางลาง อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางซากีย๊ะ เจ๊ะอีแต

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมยาสูบโดยชุมชนตำบลเขื่อนบางลาง

ที่อยู่ ตำบลเขื่อนบางลาง อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 67-L4122-01-02 เลขที่ข้อตกลง 03/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 สิงหาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมยาสูบโดยชุมชนตำบลเขื่อนบางลาง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขื่อนบางลาง อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขื่อนบางลาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมยาสูบโดยชุมชนตำบลเขื่อนบางลาง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมยาสูบโดยชุมชนตำบลเขื่อนบางลาง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขื่อนบางลาง อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 67-L4122-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 สิงหาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,205.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเขื่อนบางลาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การบริโภคยาสูบหรือการสูบบุหรี่ เป็นสาเหตุสำคัญของปัญหาทางสุขภาพที่ร้ายแรง และการสูบบุหรี่เป็นพฤติกรรมที่พบเห็นได้ในทุกสังคมตั้งแต่วัยรุ่นจนถึงวัยผู้ใหญ่และวัยผู้สูงอายุ พฤติกรรมการสูบบุหรี่ส่วนใหญ่จะเริ่มต้นจากวัยรุ่น โดยเฉพาะในกลุ่มเพื่อนซึ่งจะนำไปสู่การมีพฤติกรรมของการเสพติดบุหรี่เป็นนิสัยและต่อเนื่องไปยังวัยผู้ใหญ่ และการงดบริโภคยาสูบหรือการหยุดสูบบุหรี่ จะทำให้อัตราการเสียชีวิตจากโรคที่เกี่ยงข้องกับการบริโภคยาสูบหรือการสูบบุหรี่ลดลงได้อย่างมีนัยสำคัญ สุขภาพอนามัยและคุณภาพชีวิตของผู้ที่เลิกสูบบุหรี่ได้ของสมาชิกครอบครัวและของผู้อื่นในสังคมดีขึ้น ลดค่าใช้จ่ายของครอบครัวและประเทศชาติ ในการดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วย  ที่มีสาเหตุความเจ็บป่วยมาจากการบริโภคยาสูบหรือการสูบบุหรี่ ในบุหรี่มีสารเคมี ๔,๐๐๐ กว่าชนิด ซึ่งสารเหล่านี้ล้วนแต่เป็นอันตรายต่อสุขภาพทั้งผู้สูบเองและผู้ที่ได้รับควันบุหรี่มือสอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากผู้ที่ได้รับควันบุหรี่เป็นเด็กก็จะยิ่งเป็นอันตรายมากขึ้น เนื่องจากเด็กยังมีภูมิต้านทานทางโรคค่อนข้างต่ำ และยังไม่สามารถป้องกันตนเองจากการได้รับควันบุหรี่จากผู้ใหญ่ได้
จากสถานการณ์การสูบบุหรี่ในตำบลเขื่อนบางลางในปี 2566 ประชาชนอายุ 15 ปี ขึ้นไป จำนวน 2,647 คน จำนวนผู้สูบบุหรี่เพศชาย จำนวน 485 คน คิดเป็นร้อยละ 18.32 (เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 18) เป็นผู้สูบบุหรี่ประจำ ยังไม่รวมผู้สูบบุหรี่เป็นครั้งคราว และผู้สูบบุหรี่รายใหม่ และพบว่า ปี2566 มีผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนการรักษา จำนวน 98 คน เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว 7 คน ( 91 คน )  และผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนการรักษา จำนวน 313 คน เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว 27 คน  ( 286 คน ) ( ข้อมูลจาก HDC สาธารณสุขจังหวัดยะลา ) ซึ่งมีโอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในอนาคต ปัจจัยการเกิดโรคนอกจากเรื่องพฤติกรรมแล้ว การสูบบุหรี่เป็นปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ผู้ป่วยเพิ่มขึ้น โดยผู้ป่วยรายใหม่ปี 2566 มีประวัติการสูบบุหรี่เป็นประจำ และส่งผลเกิดปัญหาค่าใช้จ่ายจากการสูบและการเจ็บป่วย มากขึ้นอีกด้วย
จากการดำเนินงานที่ผ่านมา พบว่าการดำเนินงานในเรื่องบุหรี่ในชุมชน ยังมีข้อจำกัดในเรื่องการสื่อสาร    ความเสี่ยงนโยบายสาธารณะเรื่องบุหรี่ การเข้ามาของบุหรี่ต่างประเทศ และงบประมาณในการดำเนินงาน ด้วยเหตุนี้ทางรพสต. บ้านสันติ1 ตำบลเขื่อนบางลาง อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา จึงได้จัดทำโครงการควบคุมยาสูบโดยชุมชนตำบลเขื่อนบางลางโดยใช้ชุมชนเป็นฐานรพสต.บ้านสันติ1  ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ในชุมชน เพื่อเป้าหมายการมีสุขภาพดี และลดการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังได้ในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาการมีส่วนร่วมและศักยภาพของท้องถิ่นในการพัฒนากระบวนการควบคุมการสูบบุหรี่ในชุมชน
  2. เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ในชุมชนและได้บุคคลต้นแบบในการเลิกบุหรี่
  3. เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่
  4. เพื่อสร้างการรับรู้ตระหนักถึงพิษภัยของบุหรี่และควันบุหรี่ เกิดการควบคุมและการช่วยเลิกบุหรี่ ในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.พัฒนาการมีส่วนร่วมและศักยภาพของท้องถิ่นในการพัฒนากระบวนการควบคุมการสูบบุหรี่ในชุมชน
    2.ลดจำนวนผู้สูบบุหรี่และได้บุคคลต้นแบบในการเลิกบุหรี่
    3.สร้างสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่
    4.สร้างการรับรู้ตระหนักถึงพิษภัยของบุหรี่และควันบุหรี่เกิดการควบคุมและการช่วยเลิกบุหรี่ ในชุมชน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนาการมีส่วนร่วมและศักยภาพของท้องถิ่นในการพัฒนากระบวนการควบคุมการสูบบุหรี่ในชุมชน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ในชุมชนและได้บุคคลต้นแบบในการเลิกบุหรี่
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่
    ตัวชี้วัด :

     

    4 เพื่อสร้างการรับรู้ตระหนักถึงพิษภัยของบุหรี่และควันบุหรี่ เกิดการควบคุมและการช่วยเลิกบุหรี่ ในชุมชน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 100
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาการมีส่วนร่วมและศักยภาพของท้องถิ่นในการพัฒนากระบวนการควบคุมการสูบบุหรี่ในชุมชน (2) เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่ในชุมชนและได้บุคคลต้นแบบในการเลิกบุหรี่ (3) เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ (4) เพื่อสร้างการรับรู้ตระหนักถึงพิษภัยของบุหรี่และควันบุหรี่ เกิดการควบคุมและการช่วยเลิกบุหรี่ ในชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการควบคุมยาสูบโดยชุมชนตำบลเขื่อนบางลาง จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 67-L4122-01-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางซากีย๊ะ เจ๊ะอีแต )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด