กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วัน PLUS สู่ 2,500 วัน
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลสรรคบุรี และคณะ
วันที่อนุมัติ 1 ตุลาคม 2566
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2566 - 31 สิงหาคม 2567
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 38,200.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กต้องมีการดูแลแบบเป็นองค์รวมตั้งแต่ตั้งครรภ์คลอดหลังคลอดและเด็กแรกเกิดจนถึงอายุ 5 ปี โดยสิ่งที่สำคัญคือการจัดบริการในสถานบริการสาธารณสุขทุกระดับให้มีประสิทธิภาพเป็นไปตามมาตรฐานเข้าถึงง่ายเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงบริการของหญิงตั้งครรภ์และครอบครัวในการดูแลอย่างต่อเนื่องและเฝ้าระวังความผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการตั้งครรภ์และหลังคลอดเตรียมความพร้อมเพื่อการส่งต่อไปยังหน่วยบริการที่มี ศักยภาพเพื่อให้ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยเด็กเติบโตพัฒนาการสมไวตามแนวทางการดำเนินงานมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน มุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพของสตรีและเด็กปฐมวัย ส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมสำคัญกิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟัน การพัฒนาคุณภาพงานบริการสาธารณสุข ทั้งคลินิกฝากครรภ์ (ANC) และคลินิกเด็กสุขภาพดี (WCC) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และเด็กแรกเกิดจนถึงอายุ 5ปี ทุกคนได้รับบริการครบถ้วนและดูแลอย่างทั่วถึง จากการประเมินผลของการมาฝากครรภ์ของหญิงตั้งครรภ์และเด็กแรกเกิดจนถึงอายุ 5 ปี ในปี 2566 ที่ผ่านมา พบว่า ยังมีหญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ล่าช้ากว่า 12 สัปดาห์ หหญิงตั้งครรภ์บางคนยังไม่เห็นความสำคัญในการมาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ และหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด นอกจากนี้ยังพบปัญหาเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ที่เริ่มลดลง เด็กมีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ และเด็กพัฒนาการล่าช้ามากขึ้น เนื่องจากผู้ปกครองไม่ตระหนักถึงปัญหาสุขภาพเด็กและขาดทักษะส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ซึ่งสิ่งเหล่านี้มีความสำคัญและความจำเป็นในการส่งเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และเด็ก โรงพยาบาลสรรคบุรี ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหา จึงได้จัดทำโครงการมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วันเพื่อการส่งเสริมการดูแลหญิงตั้งครรภ์ให้ได้รับการดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสมพร้อมรับสวัสดิการการฝากครรภ์ที่ควรได้รับ ทั้งนี้ยังดูแลสุขภาพเด็กให้ได้รับการดูแลสุขภาพ การได้รับวัคซีน การเฝ้าระวังและส่งเสริมการเจริญเติบโต การคัดกรองพัฒนาการและส่งเสริมพัฒนาการ รวมไปถึงส่งเสริมให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของหญิงตั้งครรภ์และเด็ก มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนางานด้านสาธารณสุข

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ และได้รับการดูแลตามเกณฑ์

ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ และได้รับการดูแลตามเกณฑ์

80.00
2 เพื่องส่งเสริมโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์

ร้อยละส่งเสริมโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์

80.00
3 เพื่องส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่แรกเกิดถึง 6 เดือน

ร้อยละการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่แรกเกิดถึง 6 เดือน

80.00
4 เพื่องส่งเสริมโภชนาการเด็ก 0-5 ปี ที่มีภาวะทุพโภชนาการ

ร้อยละโภชนาการเด็ก 0-5 ปี ที่มีภาวะทุพโภชนาการ

70.00
5 เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ

ร้อยละเด็ก 0-5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ

80.00
6 เพื่อให้เด็ก 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัยและที่มีพัฒนาล่าช้า ได้รับการส่งต่อ

ร้อยละเด็ก 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัยและที่มีพัฒนาล่าช้า ได้รับการส่งต่อ

70.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 38,200.00 0 0.00
1 ต.ค. 66 - 31 ส.ค. 67 กิจกรรมหญิงตั้งครรภ์ 0 15,300.00 -
1 ต.ค. 66 - 31 ส.ค. 67 กิจกรรม เด็ก 0-5 ปี 0 22,900.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการเด็กและส่งเสริมพัฒนาการ 2.เด็กอายุ 0-5ปี ได้รับส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็กสอนผู้ปกครองเรื่องโภชนาการการอ่านกราฟภาวะโภชนาการสนับสนุนอาหารเสริมนมไข่ในเด็กผอมและทำทะเบียนรายชื่อรับอาหารเสริม (นม,ไข่ ) 3.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ และได้รับการดูแลตามเกณฑ์ 4.หญิงตั้งครรภ์รายใหม่และสามีได้รับความรู้ เรื่องการเลี้ยงดูเด็ก 0-5 ปี และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ แรกเกิดถึง 6 เดือน 5.หญิงตั้งครรภ์ ได้รับการติดตามการฝากครรภ์ ติดตามเยี่ยมหลังคลอด และส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามแนวทาง DSPM 6.เด็ก 0-5 ปีมีพัฒนาการสมวัยและที่มีพัฒนาล่าช้า ได้รับการส่งต่อ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 6 ก.ค. 2567 08:39 น.