กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนกำ


“ โครงการฝึกอบรมทบทวนชุดปฏิบัติการจิตอาสาภัยพิบัติประจำเทศบาลตำบลดอนกำ ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการฝึกอบรมทบทวนชุดปฏิบัติการจิตอาสาภัยพิบัติประจำเทศบาลตำบลดอนกำ

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฝึกอบรมทบทวนชุดปฏิบัติการจิตอาสาภัยพิบัติประจำเทศบาลตำบลดอนกำ จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนกำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฝึกอบรมทบทวนชุดปฏิบัติการจิตอาสาภัยพิบัติประจำเทศบาลตำบลดอนกำ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฝึกอบรมทบทวนชุดปฏิบัติการจิตอาสาภัยพิบัติประจำเทศบาลตำบลดอนกำ " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2567 - 31 สิงหาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลดอนกำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 มาตรา 41 กำหนดให้ผู้อำนวยการจัดให้มีอาสาสมัครในพื้นที่เพื่อให้ความช่วยเหลือเจ้าพนักงานในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยทั้งนี้ศูนย์อำนวยการใหญ่จิตอาสาพระราชทาน 904 วปร. มีความประสงค์ขอให้กระทรวงมหาดไทย ประสานจังหวัด/อำเภอจัดตั้งชุดปฏิบัติการจิตอาสาภัยพิบัติประจำองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) และเทศบาลตำบล (ทต.) อย่างน้อย50 คนต่อแห่ง เพื่อเป็นผู้ช่วยเจ้าพนักงานในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในระดับพื้นที่ รวมถึงพิจารณากำหนดรูปแบบ/องค์ประกอบโครงสร้าง การสั่งการ แผนผัง/เครือข่ายการติดต่อสื่อสาร และการฝึกอบรมชุดปฏิบัติการจิตอาสาภัยพิบัติดังกล่าวให้มีความพร้อมปฏิบัติภารกิจตามที่ได้รับมอบหมาย อาศัยพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.๒๕๓๗ และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา๖๗ (๔) กำหนดให้องค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลในการป้องกันสาธารณ ภัย และพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรา ๑๖กำหนดให้เทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจหน้าที่ (๒๙) การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (๓๐)การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุนการป้องกันและและรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ดังนั้นการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และการรักษาความสงบเรียบร้อย จึงเป็นอำนาจหน้าที่ โดยตรงของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบลระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม และการเข้ารับการฝึกอบรมของเจ้าหน้าที่ท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๕๗ ข้อ ๔ กำหนดว่า “การฝึกอบรมบุคคลภายนอก” หมายความว่า การฝึกอบรมที่ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกินกึ่งหนึ่งมิใช่เจ้าหน้าที่ท้องถิ่น ข้อ ๗ กำหนดว่า โครงการหรือหลักสูตรการฝึกอบรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดหรือจัดร่วมกับหน่วยงานอื่น ต้องเป็นเรื่องที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ โดยคำนึงถึงความคุ้มค่าในการใช้จ่ายงบประมาณ และข้อ ๑๒ – ๑๖ กำหนดค่าใช้จ่ายที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถเบิกจ่ายได้ ดังนั้น เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่ให้แก่ชุดปฏิบัติการจิตอาสาภัยพิบัติให้มีความรู้ความเข้าใจในการจัดการสาธารณภัยเบื้องต้น ระบบบัญชาการเหตุการณ์ (Incident Command System : ICS) การควบคุมสั่งการ การบริหารจัดการสาธารณภัยในพื้นที่เกิดเหตุ ที่เป็นรูปแบบ และมีมาตรฐานเดียวกัน สามารถบัญชาการและปฏิบัติการร่วมกับชุดปฏิบัติการอื่นอย่างมีเอกภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลนาดี จึงได้จัด โครงการจัดตั้งชุดปฏิบัติการจิตอาสาภัยพิบัติประจำองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขึ้น นั้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุม
  2. ฝึกอบรมทบทวนชุดปฏิบัติการจิตอาสาภัยพิบัติประจำเทศบาลตำบลดอนกำ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถปฏิบัติหน้าที่ช่วยเหลือเจ้าพนักงานในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ภายในพื้นที่เกิดเหตุได้อย่างถูกต้องรวดเร็วเป็นระบบและมีมาตรฐานเดียวกัน 2.ผู้เข้าฝึกอบรมสามารถให้การสนับสนุนการปฏิบัติงานของกองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งพื้นที่ เมื่อเกิดสาธารณภัยได้อย่างมีประสิทธิภาพลดความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สินจากสาธารณภัย 3.ผู้เข้าอบรมมีความรู้และทักษะในการปฏิบัติงานด้านสาธารณภัยอย่างเป็นระบบ
4.กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของเทศบาลเทศบาลตำบลดอนกำมีความเข้มแข็งและยั่งยืน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุม (2) ฝึกอบรมทบทวนชุดปฏิบัติการจิตอาสาภัยพิบัติประจำเทศบาลตำบลดอนกำ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการฝึกอบรมทบทวนชุดปฏิบัติการจิตอาสาภัยพิบัติประจำเทศบาลตำบลดอนกำ จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด