กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการมัสยิดส่งเสริมสุขภาพตำบลวัด
รหัสโครงการ 67 - L30434 - 1 -4
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ องค์การบริหารส่วนตำบลวัด
วันที่อนุมัติ 9 กรกฎาคม 2567
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 15,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางนูรีซัม ดุลกล้าเดช
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลวัด อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.735,101.308place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ก.ค. 2567 30 ก.ย. 2567 15,000.00
รวมงบประมาณ 15,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

มุสลิมจะมีวิถีที่ผุกพับกับมัสยิดจนกระทั้งช่วงสุดท้ายของชีวิตบทบาทของมัสยิดนอกจากจะเป็นสถานที่ปฏิบัติศาสนากิจตามที่คนทั่วไปเข้าใจแล้ว มัสยิดยังเป็นศูนย์กลางพัฒนาและส่งเสริมกิจกรรมของชุมชน เป็นศาลสถิตยุติธรรมเพื่อพิจารณาไกล่เกลี่ยคดีความชั้นต้นในชุมชน เป็นสถานที่ประชุมหรือปรึกษาและทางออกในเรื่องราวด้านต่างๆของชุมชนตลอดจนเมื่อสุดท้ายของชีวิตสถานที่แห่งนี้จะเป็นที่สุดท้ายที่เขา (ศพ) จะได้รับการละหมาดขอพรจากพระผู้เป็นเจ้าก่อนที่ร่างจะถูกฝังในกุโบ(สุสาน)ที่อยู่ไกล้ๆมัสยิด บทบาทที่สำคัญอีกประการหนึ่งของมัสยิด คือการบริการการศึกษาแก่สมาชิกในชุมชนทั้งระดับพื้นฐานและวิทยาอิสลามชั้นสูง และการจัดการเผยแพร่องค์ความรู้ต่างๆทัศนะอิสลาม วิชาความรู้ดีงามเป็นประโยชน์ให้กับส่วนบุคคล ครอบครัว และการพัฒนาสังคมเป็นสิ่งจำเป็นที่มุสลิมทุกคนต้องไขว่าขว้าและเรียนรู้ มัสยิดจึงเป็นสถานที่ส่งเสริมสุขภาพ ทั้งร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญานของประชาชนในชุมชน อิสลามได้กำหนดให้ผู้ที่จะปฏิบัติศาสนากิจนั้นต้องทำการชำระร่างกายให้สะอาด และจำเป็นที่จำต้องชำระมลทินทั้งสองอย่างคือภายนอกและภายในให้หมดไปมิฉะนั้นการปฏิบัติศาสนากิจของเราก็ใช้ไม่ได้ ดั่งคำสอนที่ศาสดามูฮัมหมัด ทรงกล่าวไว้ว่า ''ความสะอาดเป็นส่วนหนึ่งของการศรัทธา"องค์ประกอบที่สำคัญอย่างหนึ่งที่จำทำให้การปิบัติศาสนากิจที่สมบรูณ์ก็คือการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อให้ผู้ปฏิบัติศาสนากิจได้มีน้ำใช้ที่สะอาด มีการจัดการขยะและสิ่งปฏิกูลถูกหลักสุขาภิบาลที่ไม่ก่อการปนเปื้อนหรือทำความสกปรกแก่ผู้ปฏิบัติศาสนากิจในการแก้ปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมจะบังเกิดผลสำเร็จได้จำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากประชาชนเป็นสำคัญเพราะการแก้ปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมขึ้นอยู่กับการปฏิบัติของประชาชน ดังนั้นการปลูกจิตสำนึกผ่านสถานที่สำคัญให้ประชาชนได้ร่วมดูแลรักษาซึ่งตรงกับคำสอนของอิสลามที่ท่านศาสดามูฮัมหมัด ทรงกล่าวว่า "ผุ้ใดผุกพันกับมัสยิด อัลลอฮ ศุบหฯ จะทรงผุกพันอยู่กับเขา"ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลวัด จึงได้จัดทำโครงการดังกล่าวเพื่อพัฒนามัสยิดให้มีมาตรฐาน ส่งเสริมวิถีชีวิตมุสลิมให้สอดคล้องกับบทบัญญัติอิสลาม เรื่องความสะอาด การศรัทธา การมรส่วนร่วม นำไปสู่การพัฒนาชุมชนต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้คณะกรรมการมัสยิดและประชาชนได้รับรู้และรับทราบถึงปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม 2.เพื่อให้คณะกรรมการมัสยิดและประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ สร้างความรักของคนในชุมชนเมื่อต่างคนต่างช่วยกันทำความสะอาดรักษาความสะอาดตลอดเวลา และสามารถถ่ายทอดให้คนในชุมชนในการรักษาความสะอาดในชุมชน

จำนวนประชาชนที่เข้าร่วมโครงการมีการจัดการด้านอนามัยและสิ่งแวดล้อมที่ถูกต้องร้อยละ 90

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มัสยิดจะเป็นแหล่งที่มีการสร้างสุขภาวะที่ดีภายใต้การจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ถูกต้อง 2.คณะกรรมการและประชาชนที่มาใช้บริการมีพฤติกรรมด้านส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ดี 3.ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 ก.ค. 2567 10:05 น.