ผู้สูงอายุสุขภาพกายดีด้วยวิถีการแพทย์แผนไทย (พอกเข่า) ปี ๒๕๖๗
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ผู้สูงอายุสุขภาพกายดีด้วยวิถีการแพทย์แผนไทย (พอกเข่า) ปี ๒๕๖๗ ”
ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรอักมาล ดือเลาะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ ผู้สูงอายุสุขภาพกายดีด้วยวิถีการแพทย์แผนไทย (พอกเข่า) ปี ๒๕๖๗
ที่อยู่ ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ l2519 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"ผู้สูงอายุสุขภาพกายดีด้วยวิถีการแพทย์แผนไทย (พอกเข่า) ปี ๒๕๖๗ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ผู้สูงอายุสุขภาพกายดีด้วยวิถีการแพทย์แผนไทย (พอกเข่า) ปี ๒๕๖๗
บทคัดย่อ
โครงการ " ผู้สูงอายุสุขภาพกายดีด้วยวิถีการแพทย์แผนไทย (พอกเข่า) ปี ๒๕๖๗ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ l2519 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,595.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพกายและใจที่ดีเป็นสิ่งสำคัญมาก ที่จะช่วยให้คนเรานั้นมีอายุยืนปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ในปัจจุบันประชาชนมีความใส่ใจในการดูแลสุขภาพน้อยมาก ส่งผลให้เกิดโรคต่างๆที่เกิดจากการไม่ดูแลตัวเองให้ดี หรือดูแลอย่างไม่ถูกวิธี โดยเฉพาะในกลุ่มวัยผู้สูงอายุ ที่ควรได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคมากที่สุด ในปัจจุบันประเทศไทยมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ คาดว่าในปี 2567 จะมีประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีอยู่ราว 1 ใน 6 ของประชากรทั้งหมด กล่าวตามนิยามของสหประชาชาติ คือเมื่อประเทศใดมีประชากร อายุ 60 ปีขึ้นไปเกินร้อยละ 10 หรือ ประชากรอายุ 65 ขึ้นไปเกินร้อยละ ๗ ของประชากรทั้งหมด ถือว่าประเทศนั้นได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) ประเทศไทยเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ปี 2547 และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในปี 2567 หรืออีก 5 ปีข้างหน้า เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุมีผลกระทบต่ออัตราส่วนภาระพึ่งพิง หรือภาระโดยรวมที่ประชากรวัยทำงานจะต้องเลี้ยงดูประชากรวัยสูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้น อาจนำไปสู่ปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงปัญหาในด้านสุขภาพของผู้สูงอายุด้วย เนื่องจากผู้สูงอายุมีภาวะด้านสุขภาพที่เปลี่ยนแปลง มีความเสื่อมของร่างกาย อวัยวะต่างๆทั่วไปเริ่มอ่อนแอ ภูมิต้านทานโรคน้อยลง รวมถึงมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและสังคม ปัญหาเหล่านี้สามารถป้องกันหรือลดอุบัติการณ์ได้โดยการที่เราส่งเสริมสุขภาพ ใส่ใจดูแลผู้สูงอายุ การแพทย์แผนไทยเป็นอีกหนึ่งศาสตร์ในการนำเอาธรรมชาติรอบตัวมาใช้เพื่อส่งเสริม ป้องกัน ดูแลรักษาและฟื้นฟูสุขภาพเช่นการดูแลรักษาโรคด้วยสมุนไพร การปรับสมดุลร่างกายด้วยมณีเวช การพอกเข่า และการผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพร ยังช่วยให้ภาวะจิตใจของผู้สูงอายุดีขึ้น ส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์เป็นการส่งเสริมให้สามารถพึ่งพาตนเองในการดูแลรักษาสุขภาพตนเองได้ อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มทางเลือกในการรักษาสุขภาพของผู้สูงอายุ และยังตอบสนองยุทธศาสตร์แห่งชาติในการรวมพลังสร้างสุขภาพเพื่อให้คนไทยแข็งแรง เมืองไทยแข็งแรง (Healthy Thailand) ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่มีส่งเสริมให้มีการทำหัตถการแพทย์แผนไทยเพื่อการรักษาผู้ป่วยในและนอกหน่วยบริการ
งานแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางขุด เปิดให้บริการตรวจวินิจฉัยโรค จ่ายยาสมุนไพร นวดรักษา ประคบสมุนไพร การอบสมุนไพร การทับหม้อเกลือ การพอกยาสมุนไพร และการแช่เท้าสมุนไพร ในการให้บริการเชิงรับ ปี 2553 มีผู้ที่เข้ามารับบริการจำนวน 691 ครั้ง ปี 2564 มีผู้มารับบริการจำนวน 1,239 ครั้ง ปี 2565 มีผู้เข้ารับบริการจำนวน 1,320 ครั้งและปี 2566 มีผู้เข้ารับบริการจำนวน 1,340 ครั้ง ซึ่งจะเห็นได้ว่ามีผู้มารับบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ 27.70 ในจำนวนผู้มารับบริการทั้งหมดนั้นจะประกอบไปด้วยประชาชนทุกกลุ่มวัยมีตั้งแต่เด็กวัยเรียน วัยทำงาน ผู้อายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้พิการ อัมพฤกษ์ อัมพาตที่เกิดจากภาวะโรคหลอดเลือดสมอง มารดาหลังคลอด และยังมีผู้ป่วยจำนวนมากที่ยังทำการรักษากับหมอพื้นบ้าน แต่ยังไม่ทั่วถึงและเพียงพอต่อความต้องการของประชาชน
งานแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางขุด ได้ตระหนักถึงคุณค่าและสุขภาพของผู้สูงอายุ รวมถึง เข้าใจสภาพปัญหาต่างๆที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุในทุกๆด้านดังที่กล่าวมาข้างต้น จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ และจัดกิจกรรมต่างๆให้สอดคล้องกับสภาพความต้องการของผู้สูงอายุในตำบลฆอเลาะ โดยมุ่งหวังให้เกิดการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุ ประชาชน และหน่วยงานภาครัฐ ทั้งนี้ได้มุ่งเน้นในด้านการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ ให้เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ สุขภาพกายใจที่ดี ไม่เป็นภาระต่อสังคมและครอบครัวต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อส่งเสริมการใช้ความรู้การแพทย์แผนไทยในการส่งเสริม ป้องกัน ดูแลรักษา ฟื้นฟูสุขภาพ
- 2 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการบริการด้านแพทย์แผนไทย การใช้ยาสมุนไพร และสามารถพึ่งพาตนเองในการดูแลรักษาสุขภาพตนเองเองได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- มีการให้บริการแพทย์ แผนไทยเชิงรุก โดยการ ตรวจวินิจฉัย รักษา ส่งเสริมสุขภาพด้วย ศาสตร์การแพทย์แผนไทย ในกลุ่มผู้ป่วยโรคข้อเข่า เสื่อม และจัดอบรมให้ความรู้ กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สูงอายุและประชาชนในพื้นที่เขตองค์การบริหารส่วนตำบลฆอเลาะ สามารถนำองค์ความรู้ในการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย มาใช้ในการส่งเสริม ป้องกัน ดูแลรักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพตนเองได้
2. ผู้สูงอายุและประชาชนในพื้นที่เขตองค์การบริหารส่วนตำบลฆอเลาะ มีสุขภาพกาย ใจ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1 เพื่อส่งเสริมการใช้ความรู้การแพทย์แผนไทยในการส่งเสริม ป้องกัน ดูแลรักษา ฟื้นฟูสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพ 2.มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ร้อยละ 90
0.00
2
2 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการบริการด้านแพทย์แผนไทย การใช้ยาสมุนไพร และสามารถพึ่งพาตนเองในการดูแลรักษาสุขภาพตนเองเองได้
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมสามารถเข้าถึงบริการด้านแพทย์แผนไทย และการใช้ยาสมุนไพร 2.มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ร้อยละ 90
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อส่งเสริมการใช้ความรู้การแพทย์แผนไทยในการส่งเสริม ป้องกัน ดูแลรักษา ฟื้นฟูสุขภาพ (2) 2 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการบริการด้านแพทย์แผนไทย การใช้ยาสมุนไพร และสามารถพึ่งพาตนเองในการดูแลรักษาสุขภาพตนเองเองได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) มีการให้บริการแพทย์ แผนไทยเชิงรุก โดยการ ตรวจวินิจฉัย รักษา ส่งเสริมสุขภาพด้วย ศาสตร์การแพทย์แผนไทย ในกลุ่มผู้ป่วยโรคข้อเข่า เสื่อม และจัดอบรมให้ความรู้ กลุ่มเป้าหมาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ผู้สูงอายุสุขภาพกายดีด้วยวิถีการแพทย์แผนไทย (พอกเข่า) ปี ๒๕๖๗ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ l2519
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนูรอักมาล ดือเลาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ผู้สูงอายุสุขภาพกายดีด้วยวิถีการแพทย์แผนไทย (พอกเข่า) ปี ๒๕๖๗ ”
ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรอักมาล ดือเลาะ
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ l2519 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"ผู้สูงอายุสุขภาพกายดีด้วยวิถีการแพทย์แผนไทย (พอกเข่า) ปี ๒๕๖๗ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ผู้สูงอายุสุขภาพกายดีด้วยวิถีการแพทย์แผนไทย (พอกเข่า) ปี ๒๕๖๗
บทคัดย่อ
โครงการ " ผู้สูงอายุสุขภาพกายดีด้วยวิถีการแพทย์แผนไทย (พอกเข่า) ปี ๒๕๖๗ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ l2519 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,595.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สุขภาพกายและใจที่ดีเป็นสิ่งสำคัญมาก ที่จะช่วยให้คนเรานั้นมีอายุยืนปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ ในปัจจุบันประชาชนมีความใส่ใจในการดูแลสุขภาพน้อยมาก ส่งผลให้เกิดโรคต่างๆที่เกิดจากการไม่ดูแลตัวเองให้ดี หรือดูแลอย่างไม่ถูกวิธี โดยเฉพาะในกลุ่มวัยผู้สูงอายุ ที่ควรได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรคมากที่สุด ในปัจจุบันประเทศไทยมีจำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ คาดว่าในปี 2567 จะมีประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีอยู่ราว 1 ใน 6 ของประชากรทั้งหมด กล่าวตามนิยามของสหประชาชาติ คือเมื่อประเทศใดมีประชากร อายุ 60 ปีขึ้นไปเกินร้อยละ 10 หรือ ประชากรอายุ 65 ขึ้นไปเกินร้อยละ ๗ ของประชากรทั้งหมด ถือว่าประเทศนั้นได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) ประเทศไทยเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ปี 2547 และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในปี 2567 หรืออีก 5 ปีข้างหน้า เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุมีผลกระทบต่ออัตราส่วนภาระพึ่งพิง หรือภาระโดยรวมที่ประชากรวัยทำงานจะต้องเลี้ยงดูประชากรวัยสูงอายุมีจำนวนเพิ่มขึ้น อาจนำไปสู่ปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงปัญหาในด้านสุขภาพของผู้สูงอายุด้วย เนื่องจากผู้สูงอายุมีภาวะด้านสุขภาพที่เปลี่ยนแปลง มีความเสื่อมของร่างกาย อวัยวะต่างๆทั่วไปเริ่มอ่อนแอ ภูมิต้านทานโรคน้อยลง รวมถึงมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและสังคม ปัญหาเหล่านี้สามารถป้องกันหรือลดอุบัติการณ์ได้โดยการที่เราส่งเสริมสุขภาพ ใส่ใจดูแลผู้สูงอายุ การแพทย์แผนไทยเป็นอีกหนึ่งศาสตร์ในการนำเอาธรรมชาติรอบตัวมาใช้เพื่อส่งเสริม ป้องกัน ดูแลรักษาและฟื้นฟูสุขภาพเช่นการดูแลรักษาโรคด้วยสมุนไพร การปรับสมดุลร่างกายด้วยมณีเวช การพอกเข่า และการผลิตผลิตภัณฑ์สมุนไพร ยังช่วยให้ภาวะจิตใจของผู้สูงอายุดีขึ้น ส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์เป็นการส่งเสริมให้สามารถพึ่งพาตนเองในการดูแลรักษาสุขภาพตนเองได้ อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มทางเลือกในการรักษาสุขภาพของผู้สูงอายุ และยังตอบสนองยุทธศาสตร์แห่งชาติในการรวมพลังสร้างสุขภาพเพื่อให้คนไทยแข็งแรง เมืองไทยแข็งแรง (Healthy Thailand) ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่มีส่งเสริมให้มีการทำหัตถการแพทย์แผนไทยเพื่อการรักษาผู้ป่วยในและนอกหน่วยบริการ งานแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางขุด เปิดให้บริการตรวจวินิจฉัยโรค จ่ายยาสมุนไพร นวดรักษา ประคบสมุนไพร การอบสมุนไพร การทับหม้อเกลือ การพอกยาสมุนไพร และการแช่เท้าสมุนไพร ในการให้บริการเชิงรับ ปี 2553 มีผู้ที่เข้ามารับบริการจำนวน 691 ครั้ง ปี 2564 มีผู้มารับบริการจำนวน 1,239 ครั้ง ปี 2565 มีผู้เข้ารับบริการจำนวน 1,320 ครั้งและปี 2566 มีผู้เข้ารับบริการจำนวน 1,340 ครั้ง ซึ่งจะเห็นได้ว่ามีผู้มารับบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ 27.70 ในจำนวนผู้มารับบริการทั้งหมดนั้นจะประกอบไปด้วยประชาชนทุกกลุ่มวัยมีตั้งแต่เด็กวัยเรียน วัยทำงาน ผู้อายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้พิการ อัมพฤกษ์ อัมพาตที่เกิดจากภาวะโรคหลอดเลือดสมอง มารดาหลังคลอด และยังมีผู้ป่วยจำนวนมากที่ยังทำการรักษากับหมอพื้นบ้าน แต่ยังไม่ทั่วถึงและเพียงพอต่อความต้องการของประชาชน งานแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางขุด ได้ตระหนักถึงคุณค่าและสุขภาพของผู้สูงอายุ รวมถึง เข้าใจสภาพปัญหาต่างๆที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุในทุกๆด้านดังที่กล่าวมาข้างต้น จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ และจัดกิจกรรมต่างๆให้สอดคล้องกับสภาพความต้องการของผู้สูงอายุในตำบลฆอเลาะ โดยมุ่งหวังให้เกิดการมีส่วนร่วมของผู้สูงอายุ ประชาชน และหน่วยงานภาครัฐ ทั้งนี้ได้มุ่งเน้นในด้านการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ ให้เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพ สุขภาพกายใจที่ดี ไม่เป็นภาระต่อสังคมและครอบครัวต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อส่งเสริมการใช้ความรู้การแพทย์แผนไทยในการส่งเสริม ป้องกัน ดูแลรักษา ฟื้นฟูสุขภาพ
- 2 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการบริการด้านแพทย์แผนไทย การใช้ยาสมุนไพร และสามารถพึ่งพาตนเองในการดูแลรักษาสุขภาพตนเองเองได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- มีการให้บริการแพทย์ แผนไทยเชิงรุก โดยการ ตรวจวินิจฉัย รักษา ส่งเสริมสุขภาพด้วย ศาสตร์การแพทย์แผนไทย ในกลุ่มผู้ป่วยโรคข้อเข่า เสื่อม และจัดอบรมให้ความรู้ กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้สูงอายุและประชาชนในพื้นที่เขตองค์การบริหารส่วนตำบลฆอเลาะ สามารถนำองค์ความรู้ในการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย มาใช้ในการส่งเสริม ป้องกัน ดูแลรักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพตนเองได้ 2. ผู้สูงอายุและประชาชนในพื้นที่เขตองค์การบริหารส่วนตำบลฆอเลาะ มีสุขภาพกาย ใจ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1 เพื่อส่งเสริมการใช้ความรู้การแพทย์แผนไทยในการส่งเสริม ป้องกัน ดูแลรักษา ฟื้นฟูสุขภาพ ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพ 2.มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ร้อยละ 90 |
0.00 |
|
||
2 | 2 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการบริการด้านแพทย์แผนไทย การใช้ยาสมุนไพร และสามารถพึ่งพาตนเองในการดูแลรักษาสุขภาพตนเองเองได้ ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมสามารถเข้าถึงบริการด้านแพทย์แผนไทย และการใช้ยาสมุนไพร 2.มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ร้อยละ 90 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อส่งเสริมการใช้ความรู้การแพทย์แผนไทยในการส่งเสริม ป้องกัน ดูแลรักษา ฟื้นฟูสุขภาพ (2) 2 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการบริการด้านแพทย์แผนไทย การใช้ยาสมุนไพร และสามารถพึ่งพาตนเองในการดูแลรักษาสุขภาพตนเองเองได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) มีการให้บริการแพทย์ แผนไทยเชิงรุก โดยการ ตรวจวินิจฉัย รักษา ส่งเสริมสุขภาพด้วย ศาสตร์การแพทย์แผนไทย ในกลุ่มผู้ป่วยโรคข้อเข่า เสื่อม และจัดอบรมให้ความรู้ กลุ่มเป้าหมาย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ผู้สูงอายุสุขภาพกายดีด้วยวิถีการแพทย์แผนไทย (พอกเข่า) ปี ๒๕๖๗ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ l2519
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนูรอักมาล ดือเลาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......