กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลห้วยกรด


“ ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ในปีงบประมาณ 2567 ”



หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ในปีงบประมาณ 2567

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ในปีงบประมาณ 2567 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลห้วยกรด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ในปีงบประมาณ 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ในปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 96,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลห้วยกรด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยที่ต้องเร่งแก้ไขและควบคุมมาโดยตลอดปัจจุบันมีการแพร่ระบาดของโรคที่เกิดจากยุงลายขึ้นในทุกๆปีจากรายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออก พ.ศ. 2566 (ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2566 – 11 มกราคม 2567) พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสะสม 158,705 ราย คิดเป็น 239.86 ต่อแสนประชากร เสียชีวิต 181 ราย คิดเป็นร้อยละ 0.11 ซึ่งมีจำนวนผู้ป่วยมากกว่า 3.5 เท่า ในปี พ.ศ. 2565ณ ช่วงเวลาเดียวกัน โดยการระบาดของโรคไข้เลือดออกพบได้ตลอดทั้งปี แต่การระบาดเป็นส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในช่วงฤดูฝน ซึ่งทำให้ยุงลายมีแหล่งเพาะพันธุ์ที่มากขึ้นจากน้ำที่ขังตามที่ต่างๆ จึงสังเกตได้ว่าในช่วงฤดูฝนของทุกปีเป็นช่วงที่มีอัตราการระบาดของโรคสูง นอกจากยุงลายที่เป็นพาหะของไข้เลือดออกแล้ว ยุงชนิดอื่นๆ ยังเป็นพาหะนำโรคอีกหลายชนิดมาสู่มนุษย์และสัตว์เลี้ยงได้ เช่น ไข้สมองอักเสบ ไข้จับสั่น มาเลเรีย โรคเท้าช้าง เป็นต้น สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลห้วยกรด อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท ในปี พ.ศ. 2566 พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่จำนวน 24 ราย คิดเป็น 386.16 ต่อแสนประชากร ไม่พบผู้เสียชีวติจากโรคไข้เลือดออก ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบ 3 ปีย้อนหลังพบว่ามีแนวโน้มสูงขึ้น ดังนั้นเพื่อเป็นการเฝ้าระวังป้องกัน และควบคุมโรค จึงมีความจำเป็นที่จะต้องหาวิธีการป้องกันโรคไข้เลือดออกเช่น การกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย การรณรงค์ให้ประชาชนในพื้นที่ปฏิบัติตามมาตรการ 3 เก็บ มาตรการ 5ป 1 ข. การพ่นควันฆ่ายุงตัวเต็มวัย และการควบคุมการระบาดของโรคขณะเกิดการระบาดโดยเราจากข้อมูลดังกล่าว ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลห้วยกรด จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2567 ขึ้น เพื่อลดอัตราการป่วยของโรคไข้เลือดออก และเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนในชุมชน เกิดความร่วมมือในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย และตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกสืบต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เทศบาล โรงเรียน ชุมชน สถานีอนามัย และอื่น ๆ ร่วมกันวางแผนดำเนินการ 2. ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ ทำป้ายประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก และขอความร่วมมือให้ประชาชนทำลายแหล่งเพาะพันธ์และกำจัดลุกน้ำยุงลาย
  2. ดำเนินการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน 50 คน ต่อแสนประชากร
  2. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในเรื่องโรคไข้เลือดออก
  3. ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เทศบาล โรงเรียน ชุมชน สถานีอนามัย และอื่น ๆ ร่วมกันวางแผนดำเนินการ 2. ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ ทำป้ายประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก และขอความร่วมมือให้ประชาชนทำลายแหล่งเพาะพันธ์และกำจัดลุกน้ำยุงลาย (2) ดำเนินการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ในปีงบประมาณ 2567 จังหวัด

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด