โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและป้องกันฟันผุในเด็กอายุ 3-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและป้องกันฟันผุในเด็กอายุ 3-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ ”
ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายสมภพ ทับเที่ยง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและป้องกันฟันผุในเด็กอายุ 3-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ
ที่อยู่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L1504-1-05 เลขที่ข้อตกลง 29/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2567 ถึง 26 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและป้องกันฟันผุในเด็กอายุ 3-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและป้องกันฟันผุในเด็กอายุ 3-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและป้องกันฟันผุในเด็กอายุ 3-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1504-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2567 - 26 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เนื่องด้วยในปัจจุบันนี้เด็กในวัยก่อนวัยเรียน มักมีปัญหาสุขภาพในช่องปาก โดยเฉพาะเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่มีอายุ 2- 5 ปี มีอัตราฟันผุในการลุกลามจะเพิ่มมากขึ้น สาเหตุที่ทำให้เด็กฟันผุ มาจากการเลี้ยงดูที่ไม่ถูกต้อง การดูแลทำความสะอาดฟันและช่องปากไม่ถูกวิธีการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสมก่อให้เกิดฟันผุในฟันน้ำนมและผุก่อนเวลาอันควรทำให้เด็กมีอาการปวด เคี้ยวอาหารไม่ได้ จึงทำให้ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ ส่งผลต่อพัฒนาการการเจริญเติบโตของเด็กทั้งทางด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสังคม ด้านสติปัญญาของเด็ก การเกิดฟันผุในฟันน้ำนม ส่งผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพแล้ว ยังมีผลต่อฟันแท้ของเด็กในอนาคตอีกด้วย คือ ฟันน้ำนมที่เสีย จะถูกถอนและหลุดก่อนที่ฟันแท้จะขึ้น ทำให้ฟันที่อยู่ติดกันล้มเอียง เข้าหาช่องว่าง ทำฟันแท้ไม่สามารถขึ้นแทนตำแหน่งนั้นได้ อาจทำให้ฟันแท้มีลักษณะ บิด ซ้อนกัน
จากการตรวจฟันเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ จำนวน 62 คน พบว่ามีเด็กนักเรียนฟันผุ 25 คน คิดเป็นร้อยละ 40.32 การอุดฟันวิธีการบูรณะฟันด้วยวิธี SMART Technique คือเทคนิคการบูรณะฟันโดยการกำจัดเนื้อฟันออก ให้สูญเสียฟันน้อยที่สุด ใช้เครื่องมืออุปกรณ์น้อยชิ้น ไม่ใช้เครื่องกรอฟัน ทำการบูรณะโพรงฟันด้วยวัสดุกลาสไอโอโนเมอร์ซึ่งมีฟลูออไรด์เป็นส่วนประกอบเพื่อยับยั้งการลุกลามของฟันผุและส่งเสริมการคืนกลับแร่ธาตุของเนื้อฟัน รักษาและป้องกันฟันผุ ดังนั้นการบูรณะฟันด้วยวิธี SMART technique เป็นการแก้ปัญหาฟันผุในกลุ่มเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยการควบคุมฟันผุ(Caries Control) และเป็นการเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากในกลุ่มเด็กปฐมวัยลดการสูญเสียฟันน้ำนมของเด็กปฐมวัย
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนานิน ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กเล็ก จึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและป้องกันฟันผุในเด็กอายุ 3-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ ปี 2567 ขึ้นเพื่อลดปัญหาโรคฟันผุและควบคุมการลุกลามของโรคส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กเล็กมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กเล็ก
- เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากตามเกณฑ์มาตรฐาน
- เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีทักษะการแปรงฟันที่ถูกต้อง
- เพื่อลดการเกิดฟันน้ำนมผุในเด็กเล็ก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
62
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
62
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 80
- ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กมีทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี ร้อยละ 80
- เด็กได้รับการอุดฟันน้ำนม สามารถเคี้ยวอาหารได้ ร้อยละ 85
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กเล็กมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีทักษะการแปรงฟันที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
4
เพื่อลดการเกิดฟันน้ำนมผุในเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
124
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
62
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
62
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กเล็กมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กเล็ก (2) เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากตามเกณฑ์มาตรฐาน (3) เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีทักษะการแปรงฟันที่ถูกต้อง (4) เพื่อลดการเกิดฟันน้ำนมผุในเด็กเล็ก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและป้องกันฟันผุในเด็กอายุ 3-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L1504-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสมภพ ทับเที่ยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและป้องกันฟันผุในเด็กอายุ 3-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ ”
ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นายสมภพ ทับเที่ยง
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L1504-1-05 เลขที่ข้อตกลง 29/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2567 ถึง 26 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและป้องกันฟันผุในเด็กอายุ 3-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและป้องกันฟันผุในเด็กอายุ 3-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและป้องกันฟันผุในเด็กอายุ 3-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1504-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2567 - 26 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เนื่องด้วยในปัจจุบันนี้เด็กในวัยก่อนวัยเรียน มักมีปัญหาสุขภาพในช่องปาก โดยเฉพาะเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ที่มีอายุ 2- 5 ปี มีอัตราฟันผุในการลุกลามจะเพิ่มมากขึ้น สาเหตุที่ทำให้เด็กฟันผุ มาจากการเลี้ยงดูที่ไม่ถูกต้อง การดูแลทำความสะอาดฟันและช่องปากไม่ถูกวิธีการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสมก่อให้เกิดฟันผุในฟันน้ำนมและผุก่อนเวลาอันควรทำให้เด็กมีอาการปวด เคี้ยวอาหารไม่ได้ จึงทำให้ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ ส่งผลต่อพัฒนาการการเจริญเติบโตของเด็กทั้งทางด้านร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสังคม ด้านสติปัญญาของเด็ก การเกิดฟันผุในฟันน้ำนม ส่งผลเสียโดยตรงต่อสุขภาพแล้ว ยังมีผลต่อฟันแท้ของเด็กในอนาคตอีกด้วย คือ ฟันน้ำนมที่เสีย จะถูกถอนและหลุดก่อนที่ฟันแท้จะขึ้น ทำให้ฟันที่อยู่ติดกันล้มเอียง เข้าหาช่องว่าง ทำฟันแท้ไม่สามารถขึ้นแทนตำแหน่งนั้นได้ อาจทำให้ฟันแท้มีลักษณะ บิด ซ้อนกัน จากการตรวจฟันเด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ จำนวน 62 คน พบว่ามีเด็กนักเรียนฟันผุ 25 คน คิดเป็นร้อยละ 40.32 การอุดฟันวิธีการบูรณะฟันด้วยวิธี SMART Technique คือเทคนิคการบูรณะฟันโดยการกำจัดเนื้อฟันออก ให้สูญเสียฟันน้อยที่สุด ใช้เครื่องมืออุปกรณ์น้อยชิ้น ไม่ใช้เครื่องกรอฟัน ทำการบูรณะโพรงฟันด้วยวัสดุกลาสไอโอโนเมอร์ซึ่งมีฟลูออไรด์เป็นส่วนประกอบเพื่อยับยั้งการลุกลามของฟันผุและส่งเสริมการคืนกลับแร่ธาตุของเนื้อฟัน รักษาและป้องกันฟันผุ ดังนั้นการบูรณะฟันด้วยวิธี SMART technique เป็นการแก้ปัญหาฟันผุในกลุ่มเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยการควบคุมฟันผุ(Caries Control) และเป็นการเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากในกลุ่มเด็กปฐมวัยลดการสูญเสียฟันน้ำนมของเด็กปฐมวัย ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนานิน ได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กเล็ก จึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและป้องกันฟันผุในเด็กอายุ 3-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ ปี 2567 ขึ้นเพื่อลดปัญหาโรคฟันผุและควบคุมการลุกลามของโรคส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กเล็กมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กเล็ก
- เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากตามเกณฑ์มาตรฐาน
- เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีทักษะการแปรงฟันที่ถูกต้อง
- เพื่อลดการเกิดฟันน้ำนมผุในเด็กเล็ก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 62 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 62 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปาก ร้อยละ 80
- ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กมีทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี ร้อยละ 80
- เด็กได้รับการอุดฟันน้ำนม สามารถเคี้ยวอาหารได้ ร้อยละ 85
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กเล็กมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กเล็ก ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากตามเกณฑ์มาตรฐาน ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีทักษะการแปรงฟันที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | เพื่อลดการเกิดฟันน้ำนมผุในเด็กเล็ก ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 124 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 62 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 62 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองและผู้ดูแลเด็กเล็กมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กเล็ก (2) เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพช่องปากตามเกณฑ์มาตรฐาน (3) เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีทักษะการแปรงฟันที่ถูกต้อง (4) เพื่อลดการเกิดฟันน้ำนมผุในเด็กเล็ก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและป้องกันฟันผุในเด็กอายุ 3-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลทุ่งกระบือ จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 67-L1504-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสมภพ ทับเที่ยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......