กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ


“ โครงการอบรมและเสริมสร้างความรู้ภูมิปัญญาชาวบ้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์แผนไทยประยุกต์ ”

ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายสมภพ ทับเที่ยง

ชื่อโครงการ โครงการอบรมและเสริมสร้างความรู้ภูมิปัญญาชาวบ้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์แผนไทยประยุกต์

ที่อยู่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 67-L1504-1-04 เลขที่ข้อตกลง 28/2567

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 กรกฎาคม 2567 ถึง 19 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมและเสริมสร้างความรู้ภูมิปัญญาชาวบ้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์แผนไทยประยุกต์ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมและเสริมสร้างความรู้ภูมิปัญญาชาวบ้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์แผนไทยประยุกต์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมและเสริมสร้างความรู้ภูมิปัญญาชาวบ้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์แผนไทยประยุกต์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งกระบือ อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 67-L1504-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 กรกฎาคม 2567 - 19 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งกระบือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย เป็นการดูแลสุขภาพในชุมชนแบบพื้นบ้านดั้งเดิม รูปแบบการรักษามีทั้งการใช้ยาสมุนไพร การนวด และการผดุงครรภ์ ฯลฯ ซึ่งสามารถตอบสนองความต้องการทางด้านการดูแลสุขภาพและบรรเทาความเจ็บป่วยของประชาชนได้เป็นอย่างดี และสามารถจัดการสุขภาพจากความเจ็บป่วยได้ อีกทั้งยังอาศัยภูมิปัญญาและองค์ความรู้เหล่านี้ที่เป็นสิ่งสำคัญและเป็นสิ่งสมควรที่จะเก็บรวบรวมอนุรักษ์และฟื้นฟูให้คงอยู่เพื่อเป็นมรดกต่อลูกหลานต่อไป ในการสืบทอดองค์ความรู้ดังกล่าวนั้น การใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ เป็นหนึ่งในภูมิปัญญาไทยที่สืบทอดกันมา ซึ่งมีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ที่ระบุถึงการใช้พืชพรรณสมุนไพรตั้งแต่สมัยพุทธกาล การนำสมุนไพรมาใช้ได้ทั้งในแง่การนำมารับประทานเป็นอาหาร เช่น การรับประทานพืชผัก หรือนำมาประกอบเป็นอาหาร นอกจากนั้นยังนำมาใช้ เป็นยารักษาโรคเวลาเกิดอาการเจ็บป่วย การใช้ลูกประคบสมุนไพรก็เป็นหนึ่งในภูมิปัญญาไทยที่คนไทยเรานำมาใช้กันตั้งแต่รุ่นปู่ย่าของเรา บางท่านเคยมีประสบการณ์การใช้ลูกประคบสมุนไพรอยู่บ้าง แต่หลายท่านอาจจะไม่ทราบถึงรายละเอียดในเรื่องผล การรักษา วิธีการใช้ อาการที่เหมาะกับการใช้ลูกประคบสมุนไพร ลูกประคบสมุนไพรเป็นภูมิปัญญาไทยที่มีมาแต่โบราณ เป็นการนำสมุนไพรพื้นบ้านชนิดต่างๆ มาใช้ประโยชน์ในการคลายกล้ามเนื้อ ลดอาการปวดเมื่อย ซึ่งจะใช้สมุนไพรที่มีอยู่ในท้องถิ่น และปัจจุบันประชาชนโดยส่วนใหญ่นั้นให้การดูแลเอาใจใส่ทางด้านสุขภาพมากขึ้น ต้องการดูแลเอาใจใส่ ส่งเสริม และป้องกันภัยจากโรคภัยต่างๆ
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนานิน ได้ตระหนักถึงความสำคัญและคุณประโยชน์ของสมุนไพรจึงได้จัดทำโครงการอบรมและเสริมสร้างความรู้ภูมิปัญญาชาวบ้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์แผนไทยประยุกต์ เพื่อต้องการสืบทอดภูมิปัญญาไทยที่สืบทอดกันมา และสามารถนำความรู้ไปใช้ในการดูแลสุขภาพ บำบัดโรค อาการป่วยเบื้องต้นด้วยลูกประคบสมุนไพรได้ และยังสามารถนำความรู้ไปต่อยอดใช้ในการประกอบอาชีพได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ มีความรู้เรื่องภูมิปัญญาชาวบ้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์แผนไทยประยุกต์
  2. เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรให้เกิดประโยชน์ในการดูแลสุขภาพ
  3. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการฝึกทักษะการทำและบำบัดโรค อาการป่วยเบื้องต้นด้วยลูกประคบสมุนไพร
  4. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 40
    กลุ่มผู้สูงอายุ 10
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต. มีความรู้เรื่องภูมิปัญญาชาวบ้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์แผนไทยประยุกต์     2.ผู้เข้าอบรมมีความรู้ในการดูแลสุขภาพ บำบัดโรค อาการป่วยเบื้องต้นด้วยลูกประคบสมุนไพรได้     3.ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้ไปต่อยอดในการประกอบอาชีพได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ มีความรู้เรื่องภูมิปัญญาชาวบ้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์แผนไทยประยุกต์
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรให้เกิดประโยชน์ในการดูแลสุขภาพ
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการฝึกทักษะการทำและบำบัดโรค อาการป่วยเบื้องต้นด้วยลูกประคบสมุนไพร
    ตัวชี้วัด :

     

    4 เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพได้
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 40
    กลุ่มผู้สูงอายุ 10
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ มีความรู้เรื่องภูมิปัญญาชาวบ้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์แผนไทยประยุกต์ (2) เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรให้เกิดประโยชน์ในการดูแลสุขภาพ (3) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการฝึกทักษะการทำและบำบัดโรค อาการป่วยเบื้องต้นด้วยลูกประคบสมุนไพร (4) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมและเสริมสร้างความรู้ภูมิปัญญาชาวบ้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์แผนไทยประยุกต์ จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 67-L1504-1-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสมภพ ทับเที่ยง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด