กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู


“ โครงการเด็กเล็กปลอดภัย ป้องกันการจมน้ำ ”

ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอัลมูบารัค

ชื่อโครงการ โครงการเด็กเล็กปลอดภัย ป้องกันการจมน้ำ

ที่อยู่ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง /67

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กรกฎาคม 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเด็กเล็กปลอดภัย ป้องกันการจมน้ำ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเด็กเล็กปลอดภัย ป้องกันการจมน้ำ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเด็กเล็กปลอดภัย ป้องกันการจมน้ำ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 กรกฎาคม 2567 - 30 กรกฎาคม 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กระทรวงสาธารณสุข เผยข้อมูล การเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2554-2563 (ค่าเฉลี่ย 10 ปี) มีผู้เสียชีวิต 780 คน เมื่อเปรียบเทียบกับ ปี พ.ศ. 2564 มีผู้เสียชีวิตแค่ปีเดียวถึง 658 คน

โดยการเสียชีวิตของเด็กที่อายุระหว่าง 0-4 ปี มีอัตราการเสียชีวิตคิดเป็นร้อยละเฉลี่ยประมาณ  34 เทียบร้อยละทั้งหมดของเด็ก ระหว่างอายุ 0-15 ปี ซึ่งถือว่าอยู่ในเกณฑ์การเสียชีวิตจากอุบัติเหตุการจมน้ำที่ค่อนข้างสูง

เพื่อให้เด็กเล็กมีทักษะเพิ่มเติมในการดูแลตัวเองเบื้องต้นจากการจมน้ำ การสอนการลอยตัว การฝึกหายใจในน้ำ การว่ายน้ำเบื้องต้น จึงถือเป็นทักษะสำคัญมากต่อเด็กเล็ก ที่มีพฤติกรรมตื่นตัว ชอบเรียนรู้สิ่งรอบตัว  จนบางครั้งอาจพ้นสายตาของผู้ปกครอง หรือ ผู้ดูแล จนอาจนำมาซึ่งอุบัติเหตุการจมน้ำ

ผลงานวิจัยทางวิชาการจากสถาบันเพื่อการวิจัยทางการศึกษา มหาวิทยาลัย Griffith ประเทศออสเตรเลีย (ปี 2016) ระบุว่า “แท้จริงแล้วมนุษย์นั้นสามารถเริ่มเรียนว่ายน้ำได้ตั้งแต่อายุ 4 เดือน (หรือเมื่อคอแข็ง) โดยทารกและเด็กเล็กที่มีโอกาสเรียนว่ายน้ำตั้งแต่เล็กจะมีพัฒนาการที่ดีกว่าทารกและเด็กเล็กในวัยเดียวกันที่ไม่ได้เรียนว่ายน้ำ” อย่างไรก็ตาม ช่วงอายุที่เหมาะสมเท่าที่เคยมีการทดลองฝึกว่ายน้ำ จะอยู่ในช่วง 8 เดือนขึ้นไป

และจากมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ มาตรฐานด้านที่ ๒ ครู/ผู้ดูแลเด็กให้การดูแล และจัดประสบการณ์การเรียนรู้และการเล่นเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย การส่งเสริมเด็กเล็กให้รู้จักป้องกันตนเองจากการจมน้ำ จึงเป็นกิจกรรมพิเศษที่ควรส่งเสริมเพื่อพัฒนาและป้องกันด้านความปลอดภัยในเด็กเล็กอย่างรอบด้าน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูนย์เด็กเล็ก 2. เพื่อป้องกันอุบัติเหตุจากการจมน้ำในเด็กเล็ก 3. เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการให้เป็นไปตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 การปรับตัวพื้นฐานสำหรับการเริ่มฝึกว่ายน้ำในเด็กเล็ก
  2. กิจกรรมที่ 2 การฝึกช่วยเหลือตัวเองหากพบเจออุบัติเหตุตกน้ำในเด็กเล็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 55
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 6
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

กิจกรรมที่ 1 การปรับตัวพื้นฐานสำหรับการเริ่มฝึกว่ายน้ำในเด็กเล็ก - ร้อยละ 98 ของเด็กเล็กรู้จักท่าพื้นฐานในการว่ายน้ำ - ร้อยละ 98 ของเด็กเล็กรู้จักการหายใจ การลอยตัว การว่ายน้ำได้ - ร้อยละ 100 ของครูและบุคลากรทางการศึกษารู้ถึงแนวทางการป้องกันการจมน้ำในเด็กเล็ก

กิจกรรมที่ 2 การฝึกช่วยเหลือตัวเองหากพบเจออุบัติเหตุตกน้ำในเด็กเล็ก - ร้อยละ 98 ของเด็กเล็กรู้จักถึงการป้องกันตัวเองหากตกในสถานการณ์การจมน้ำ - ร้อยละ 100 ของครูและบุคลากรทางการศึกษารู้ถึงแนวทางการป้องกันการจมน้ำในเด็กเล็ก - อุบัติเหตุจากการจมน้ำของเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูนย์เด็กเล็ก 2. เพื่อป้องกันอุบัติเหตุจากการจมน้ำในเด็กเล็ก 3. เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการให้เป็นไปตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ
ตัวชี้วัด : กิจกรรมที่ 1 การปรับตัวพื้นฐานสำหรับการเริ่มฝึกว่ายน้ำในเด็กเล็ก - ร้อยละ 98 ของเด็กเล็กรู้จักท่าพื้นฐานในการว่ายน้ำ - ร้อยละ 98 ของเด็กเล็กรู้จักการหายใจ การลอยตัว การว่ายน้ำได้ - ร้อยละ 100 ของครูและบุคลากรทางการศึกษารู้ถึงแนวทางการป้องกันการจมน้ำในเด็กเล็ก กิจกรรมที่ 2 การฝึกช่วยเหลือตัวเองหากพบเจออุบัติเหตุตกน้ำในเด็กเล็ก - ร้อยละ 98 ของเด็กเล็กรู้จักถึงการป้องกันตัวเองหากตกในสถานการณ์การจมน้ำ - ร้อยละ 100 ของครูและบุคลากรทางการศึกษารู้ถึงแนวทางการป้องกันการจมน้ำในเด็กเล็ก - อุบัติเหตุจากการจมน้ำของเด็กเล็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กลดลง
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 61
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 55
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 6
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูนย์เด็กเล็ก 2. เพื่อป้องกันอุบัติเหตุจากการจมน้ำในเด็กเล็ก 3. เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการให้เป็นไปตามมาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การปรับตัวพื้นฐานสำหรับการเริ่มฝึกว่ายน้ำในเด็กเล็ก (2) กิจกรรมที่ 2 การฝึกช่วยเหลือตัวเองหากพบเจออุบัติเหตุตกน้ำในเด็กเล็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเด็กเล็กปลอดภัย ป้องกันการจมน้ำ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( หัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอัลมูบารัค )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด