กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู


“ โครงการฟื้นฟูสุขภาพกลุ่มอาการ Post Covid Syndrome ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยแบบองค์รวม ปี 2567 ”

ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางคอรีเยาะ สลีมิน

ชื่อโครงการ โครงการฟื้นฟูสุขภาพกลุ่มอาการ Post Covid Syndrome ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยแบบองค์รวม ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฟื้นฟูสุขภาพกลุ่มอาการ Post Covid Syndrome ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยแบบองค์รวม ปี 2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฟื้นฟูสุขภาพกลุ่มอาการ Post Covid Syndrome ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยแบบองค์รวม ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฟื้นฟูสุขภาพกลุ่มอาการ Post Covid Syndrome ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยแบบองค์รวม ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การติดเชื้อ COVID-19 ในประเทศไทยพบในอัตราที่สูงถึง 4.5 ล้านคน (ข้อมูล ณ วันที่ 23 มิถุนายน 2566) จะ เห็นได้ว่าเป็นตัวเลขที่สูงมาก โดยเฉพาะสายพันธุ์โอมิครอน ที่แพร่ระบาดได้ง่าย ทำให้พบตัวเลขการติดเชื้อสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว และหากติดตามอาการของผู้ติดเชื้อจำนวนหนึ่งจะสังเกตุพบอาการผิดปกติเกิดขึ้นหลังจากหายจากการติดเชื้อแล้วหรือในผู้ป่วยบางราย พบอาการแสดงยาวนานตั้งแต่ช่วงที่ติดเชื้อโดยอาการเหล่านั้นไม่ดีขึ้น อยู่นานเป็นเดือน โดยกลุ่มอาการที่พบสามารถพบได้ในหลายระบบทั่วร่างกาย อาทิเช่น พบไข้สูง มีภาวะเหนื่อย หอบ มากผิดปกติพบภาวะข้อ อักเสบ หรือการพบผื่น (rash) ที่เกิดขึ้นตามร่างกายโดยไม่ทราบสาเหตุ รวมถึงมีอาการชาตาม ปลายมือ ปลายเท้าที่ เกี่ยวข้องกับระบบประสาท และอีกหลากหลายอาการ ดังนั้นทำให้ผู้ที่เคยติดเชื้อที่มีอาการ  ต่างๆเหล่านี้ มีความกังวลต่อสุขภาพของตนเองในระยะยาว ทำให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้เดินเข้ามาพบแพทย์เพื่อหาสาเหตุดังกล่าว ซึ่งกลุ่มอาการเหล่านี้สอดคล้องกับกลุ่มอาการที่เรียกว่า ภาวะ Long COVID-19 หรือ Post COVID-19 โดยหากอ้างอิงตามองค์กรระดับสากล ได้แก่ หน่วยงาน CDC หรือแม้แต่องค์การอนามัยโลก WHO ได้ตระหนัก ถึงภาวะ Long COVID-19 นี้ว่าให้เฝ้าระวังอาการผิดปกติต่างๆเหล่านี้ซึ่งอาจส่งผลเสียต่อสุขภาพในระยะยาวได้ หาก ไม่ได้เข้ารับการรักษาได้ทันท่วงทีดังนั้นจึงมีการพูดถึงการเจาะเลือดส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการณ์ทางการแพทย์ถึงเทสต์ต่างๆ ที่จะนำมาช่วยในการประเมินภาวะ Long COVID-19 นี้ ที่สามารถส่งผลเสียได้ทุกระบบในร่างกาย อาทิเช่น กระตุ้น ให้ร่างกายสร้างภูมิตอบสนองชนิดที่ทำร้ายตนเอง เกิดเป็นโรค Autoimmune disease ได้หรือพบกลุ่มอาการอักเสบ หลายระบบ Multi-Inflammatory System in Children (MIS-C) หรือ Multi-Inflammatory System in Adults (MIS-A) โดยในปัจจุบันสามารถใช้ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการในการช่วยวินิจฉัยกลุ่มโรคดังกล่าวได้อย่างแม่นยำและ ถูกต้อง


งานวิจัยที่เผยแพร่โดยอิมพีเรียลคอลเลจลอนดอน (Imperial College London) ระบุว่า จากกลุ่มตัวอย่างผู้ติดเชื้อโควิด-19 ประมาณห้าแสนคนในอังกฤษ พบอาการหลงเหลือต่อเนื่องที่สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มหลัก ได้แก่ กลุ่มที่มีอาการทั่วไป คือ อ่อนเพลียและเหนื่อยล้า และกลุ่มที่มีขนาดใหญ่กว่าอีกกลุ่มคือมีอาการเกี่ยวข้องกับระบบทางเดินหายใจ อันเป็นผลมาจากความรุนแรงจากการติดเชื้อครั้งแรก เช่น ไอ หายใจติดขัด ปวดศีรษะ ฯ นอกจากนี้ รายงานผลสำรวจของ Office of National Statistics (ONS) สหราชอาณาจักร เผยว่า จากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 1.2 ล้านคนที่อาศัยอยู่ในสหราชอาณาจักร ความชุกของผู้มีภาวะลองโควิดอยู่ที่ร้อยละ 95 โดยมีอาการหลงเหลือกว่า 4 สัปดาห์หลังได้รับการยืนยันหรือสงสัยว่าติดเชื้อโควิด-19 อีกทั้งร้อยละ 70 ของคนในจำนวนนี้เป็นผู้ที่เคยติดเชื้อหรือสงสัยว่าติดเชื้อมาก่อนไม่ต่ำกว่า 12 สัปดาห์ อาการที่พบมากที่สุดคือ อ่อนเพลีย สูญเสียการรับกลิ่น หายใจติดขัด และสมาธิแย่ลง ตามลำดับ ส่วนในเด็กนั้นพบว่ามีภาวะลองโควิดได้เช่นกัน ข้อมูลจาก ONS พบว่า เด็กที่ติดเชื้อโควิด-19 หลังรักษาหายแล้วยังพบอาการหลงเหลือต่อเนื่องนานกว่า 4 สัปดาห์ อาการส่วนใหญ่ที่พบคืออ่อนเพลีย/เหนื่อยล้า จากสถานการณ์การแพร่ระบาดและอัตราการติดเชื้อโควิด-19 ในประเทศไทยกลับมาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่านมา การติดเชื้อโควิด-19 เมื่อรักษาหายแล้วยังก่อให้เกิดอาการหลงเหลือต่อเนื่อง เป็นภาวะที่หลายคนอาจคุ้นหูว่า ลองโควิด (Long COVID) หรือ Post COVID-19 Syndrome ซึ่งส่งผลต่อการทำงานของร่างกาย รวมถึงสมรรถภาพและการใช้ชีวิตประจำวัน โดยอาการและความรุนแรงจะแตกต่างกันไปตามแต่ละบุคคล จากข้อมูลของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขพบว่า ภาวะลองโควิดมีโอกาสเกิดได้มากถึงร้อยละ 30 – 50 ด้วยเหตุนี้ งานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโกตาบารู ได้ตระหนักถึงความสำคัญในการฟื้นฟูสุขภาพประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยงในพื้นที่ตำบลโกตาบารู ที่มีอาการ Post Covid Syndrome ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยแบบองค์รวม โดยส่งเสริมการให้ความรู้ ความเข้าใจ ตลอดจนร่วมทำกิจกรรมต่างๆในการส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชน เพื่อเตรียมรับมือกับอาการของภาวะสุขภาพนี้ได้อย่างเหมาะสมในอนาคตต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจและสร้างความตระหนักเกี่ยวกับการฟื้นฟูสุขภาพ
  2. กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการโดยสาธิตพร้อมแบ่งกลุ่มตามฐานต่างๆในการฟื้นฟูสุขภาพ Post Covid Syndrome ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยแบบองค์รวม จำนวน 19,200 บาท (ประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยงและผู้ที่มีอาการ Post Covid

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

7.1 ประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยงและผู้ที่มีอาการ Post Covid Syndrome ได้รับการประเมินคัดกรองอาการ มากกว่าร้อยละ 80 7.2 ประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยงและผู้ที่มีอาการ Post Covid Syndrome ได้รับการดูแลรักษา ฟื้นฟู และติดตามดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยแบบองค์รวม มากกว่าร้อยละ 80 7. 3ประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยงและผู้ที่มีอาการ Post Covid Syndrome สามารถประชาสัมพันธ์และเผยแพร่องค์ความรู้ด้านการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยแบบองค์รวมในครอบครัว ตลอดจนในชุมชนได้ 7.4 สามารถพัฒนาแนวปฏิบัติการดูแลผู้ที่มีอาการ Post Covid Syndrome เพื่อใช้ในเครือข่ายอำเภอรามันต่อไปได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจและสร้างความตระหนักเกี่ยวกับการฟื้นฟูสุขภาพ (2) กิจกรรมที่ 2  อบรมเชิงปฏิบัติการโดยสาธิตพร้อมแบ่งกลุ่มตามฐานต่างๆในการฟื้นฟูสุขภาพ  Post Covid Syndrome ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยแบบองค์รวม จำนวน 19,200 บาท  (ประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยงและผู้ที่มีอาการ Post Covid

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการฟื้นฟูสุขภาพกลุ่มอาการ Post Covid Syndrome ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยแบบองค์รวม ปี 2567 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางคอรีเยาะ สลีมิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด