โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองประจำปีงบประมาณ 2567
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองประจำปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางคอรีเยาะ สลีมิน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู
กันยายน 2567
ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองประจำปีงบประมาณ 2567
ที่อยู่ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองประจำปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
มะเร็งปากมดลูกถือเปนปญหาทางสาธารณสุขที่สําคัญ เนื่องจากเปนสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับตน ๆ ของสตรีทั่วโลก สำหรับประเทศไทยมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับ 2 ของมะเร็งในสตรีไทย รองจากมะเร็งเต้านม และมะเร็งตับ โดยส่วนใหญ่พบในผู้หญิงอายุช่วง 35-60 ปี ในปี 2557 มีอุบัติการณ์เกิดโรคมะเร็งปากมดลูก 5,513 ราย หรือคิดเป็น 11.7 รายต่อประชากร 100,000 ราย ( Cancer in Thailand 2013-2015 ) และจากรายงานสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ระบุว่าในปี พ.ศ. 2560 มีจำนวนผู้เสียชีวิตจากโรคมะเร็งปากมดลูกประมาณ 2,251 ราย หรือคิดเป็น 6.8 ราย ต่อประชากร 100,000 ราย (ดร.ศุลีพร แสงกระจ่าง) จากการรวบรวมข้อมูลตั้งแต่ปี 2563-2566 ในพื้นที่ตำบลโกตาบารู หญิงวัยเจริญพันธ์ ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก จำนวน 7 ราย เสียชีวิต 4 ราย รักษาหายจำนวน 3 ราย และจากผลการดำเนินงานการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสมปี 2563-2566 สตรีอายุ 30-60 ปี จำนวน 1,017 ราย ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จำนวน 266 ราย คิดเป็นร้อยละ 26.16 ซึ่งตัวชี้วัดการดำเนินงานในกลุ่มเป้าหมายต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ต่อปี และในปี 2567 กำหนดการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสมเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ซึ่งจะเห็นได้ว่าผลงานยังต่ำกว่าเกณฑ์ตัวชี้วัด (การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ปีงบประมาณ 2567)
มะเร็งปากมดลูกมีสาเหตุแน่นอนแล้วว่าเกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอชพีวี ใช้เวลานานก่อนเป็น และมีระยะรอยโรคก่อนมะเร็ง ดังนั้นการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกอย่างสม่ำเสมอ จะทำให้ตรวจพบมะเร็งได้ตั้งแต่ระยะเริ่มแรกซึ่งสามารถรักษาให้หายขาดได้ หากได้รับการตรวจคัดกรองและเข้ารับการรักษาโดยเร็ว อาจไม่เกิดโอกาสในการเสียชีวิต เดิมประเทศไทยมีการดําเนินโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกระดับชาติโดยวิธี pap smear ระยะแรกในป พ.ศ. 2547-2552 และดําเนินการครอบคลุมทั่วประเทศ ใน ป 2553-2557 ถึงแมการตรวจโดยใชวิธี pap smear จะเปนวิธีการตรวจที่ได้มาตรฐาน แตพบปญหาและอุปสรรคที่สําคัญคือ ประสิทธิภาพของวิธีการตรวจที่ยังมีจํากัดและการเก็บตัวอยางเซลลและการจัดเตรียมสไลด เปนงานที่ตองใชความเชี่ยวชาญของเจาหนาที่ เนื่องจากวิธีการตรวจมีความยุ่งยาก ผู้รับบริการมักจะปฏิเสธการเข้ารับการตรวจคัดกรอง และระยะเริ่มแรกของการเกิดโรคจะไม่มีการแสดงอาการ ประกอบกับความเขินอายของ ผู้มารับบริการ ประกอบกับไดมีการพัฒนาการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกดวยตนเองวิธี HPV Test ซึ่งใหผลความไวและความถูกตองที่ ดีกวาการตรวจ pap smear มีความไวในการตรวจพบถึง ร้อยละ 90-95 และยังช่วยลดความเขินอายของผู้มารับบริการได้เป็นอย่างมาก ประกอบกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ได้บรรจุสิทธิประโยชน์ให้มีการตรวจคัดกรองฟรีในสตรีอายุ 30-60 ปี
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโกตาบารูตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเอง ประจำปีงบประมาณ 2567 ขึ้นเพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย เข้าถึงบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเอง ให้ได้ครอบคลุมมากยิ่งขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เพื่อให้ผู้รับบริการที่มีผลการตรวจผิดปกติได้รับการส่งต่อการรักษาตามระบบร้อยละ 100 4. เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมในการรับบริการตรวจคัดกรองปากมดลูกตามระยะเวลาอย่างสม่ำเสมอทุก 5 ปี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 2 รุ่นๆละ 1 วัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมาย ได้รับความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
- กลุ่มเป้าหมายเข้ารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเอง มากกว่าร้อยละ 80
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เพื่อให้ผู้รับบริการที่มีผลการตรวจผิดปกติได้รับการส่งต่อการรักษาตามระบบร้อยละ 100 4. เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมในการรับบริการตรวจคัดกรองปากมดลูกตามระยะเวลาอย่างสม่ำเสมอทุก 5 ปี
ตัวชี้วัด : 1. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. ผู้รับบริการที่มีผลการตรวจผิดปกติได้รับการส่งต่อการรักษาตามระบบร้อยละ 100
4. เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมในการรับบริการตรวจคัดกรองปากมดลูกตามระยะเวลาอย่างสม่ำเสมอทุก 5 ปี
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
300
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เพื่อให้ผู้รับบริการที่มีผลการตรวจผิดปกติได้รับการส่งต่อการรักษาตามระบบร้อยละ 100 4. เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมในการรับบริการตรวจคัดกรองปากมดลูกตามระยะเวลาอย่างสม่ำเสมอทุก 5 ปี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 2 รุ่นๆละ 1 วัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางคอรีเยาะ สลีมิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองประจำปีงบประมาณ 2567 ”
ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางคอรีเยาะ สลีมิน
กันยายน 2567
ที่อยู่ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองประจำปีงบประมาณ 2567
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองประจำปีงบประมาณ 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
มะเร็งปากมดลูกถือเปนปญหาทางสาธารณสุขที่สําคัญ เนื่องจากเปนสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับตน ๆ ของสตรีทั่วโลก สำหรับประเทศไทยมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับ 2 ของมะเร็งในสตรีไทย รองจากมะเร็งเต้านม และมะเร็งตับ โดยส่วนใหญ่พบในผู้หญิงอายุช่วง 35-60 ปี ในปี 2557 มีอุบัติการณ์เกิดโรคมะเร็งปากมดลูก 5,513 ราย หรือคิดเป็น 11.7 รายต่อประชากร 100,000 ราย ( Cancer in Thailand 2013-2015 ) และจากรายงานสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ระบุว่าในปี พ.ศ. 2560 มีจำนวนผู้เสียชีวิตจากโรคมะเร็งปากมดลูกประมาณ 2,251 ราย หรือคิดเป็น 6.8 ราย ต่อประชากร 100,000 ราย (ดร.ศุลีพร แสงกระจ่าง) จากการรวบรวมข้อมูลตั้งแต่ปี 2563-2566 ในพื้นที่ตำบลโกตาบารู หญิงวัยเจริญพันธ์ ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก จำนวน 7 ราย เสียชีวิต 4 ราย รักษาหายจำนวน 3 ราย และจากผลการดำเนินงานการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสมปี 2563-2566 สตรีอายุ 30-60 ปี จำนวน 1,017 ราย ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จำนวน 266 ราย คิดเป็นร้อยละ 26.16 ซึ่งตัวชี้วัดการดำเนินงานในกลุ่มเป้าหมายต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ต่อปี และในปี 2567 กำหนดการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสมเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ซึ่งจะเห็นได้ว่าผลงานยังต่ำกว่าเกณฑ์ตัวชี้วัด (การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ปีงบประมาณ 2567)
มะเร็งปากมดลูกมีสาเหตุแน่นอนแล้วว่าเกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอชพีวี ใช้เวลานานก่อนเป็น และมีระยะรอยโรคก่อนมะเร็ง ดังนั้นการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกอย่างสม่ำเสมอ จะทำให้ตรวจพบมะเร็งได้ตั้งแต่ระยะเริ่มแรกซึ่งสามารถรักษาให้หายขาดได้ หากได้รับการตรวจคัดกรองและเข้ารับการรักษาโดยเร็ว อาจไม่เกิดโอกาสในการเสียชีวิต เดิมประเทศไทยมีการดําเนินโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกระดับชาติโดยวิธี pap smear ระยะแรกในป พ.ศ. 2547-2552 และดําเนินการครอบคลุมทั่วประเทศ ใน ป 2553-2557 ถึงแมการตรวจโดยใชวิธี pap smear จะเปนวิธีการตรวจที่ได้มาตรฐาน แตพบปญหาและอุปสรรคที่สําคัญคือ ประสิทธิภาพของวิธีการตรวจที่ยังมีจํากัดและการเก็บตัวอยางเซลลและการจัดเตรียมสไลด เปนงานที่ตองใชความเชี่ยวชาญของเจาหนาที่ เนื่องจากวิธีการตรวจมีความยุ่งยาก ผู้รับบริการมักจะปฏิเสธการเข้ารับการตรวจคัดกรอง และระยะเริ่มแรกของการเกิดโรคจะไม่มีการแสดงอาการ ประกอบกับความเขินอายของ ผู้มารับบริการ ประกอบกับไดมีการพัฒนาการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกดวยตนเองวิธี HPV Test ซึ่งใหผลความไวและความถูกตองที่ ดีกวาการตรวจ pap smear มีความไวในการตรวจพบถึง ร้อยละ 90-95 และยังช่วยลดความเขินอายของผู้มารับบริการได้เป็นอย่างมาก ประกอบกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ได้บรรจุสิทธิประโยชน์ให้มีการตรวจคัดกรองฟรีในสตรีอายุ 30-60 ปี
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโกตาบารูตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเอง ประจำปีงบประมาณ 2567 ขึ้นเพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย เข้าถึงบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเอง ให้ได้ครอบคลุมมากยิ่งขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เพื่อให้ผู้รับบริการที่มีผลการตรวจผิดปกติได้รับการส่งต่อการรักษาตามระบบร้อยละ 100 4. เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมในการรับบริการตรวจคัดกรองปากมดลูกตามระยะเวลาอย่างสม่ำเสมอทุก 5 ปี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 2 รุ่นๆละ 1 วัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 300 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมาย ได้รับความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
- กลุ่มเป้าหมายเข้ารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเอง มากกว่าร้อยละ 80
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เพื่อให้ผู้รับบริการที่มีผลการตรวจผิดปกติได้รับการส่งต่อการรักษาตามระบบร้อยละ 100 4. เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมในการรับบริการตรวจคัดกรองปากมดลูกตามระยะเวลาอย่างสม่ำเสมอทุก 5 ปี ตัวชี้วัด : 1. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. ผู้รับบริการที่มีผลการตรวจผิดปกติได้รับการส่งต่อการรักษาตามระบบร้อยละ 100 4. เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมในการรับบริการตรวจคัดกรองปากมดลูกตามระยะเวลาอย่างสม่ำเสมอทุก 5 ปี |
80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 300 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 300 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2.เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 3. เพื่อให้ผู้รับบริการที่มีผลการตรวจผิดปกติได้รับการส่งต่อการรักษาตามระบบร้อยละ 100 4. เพื่อส่งเสริมพฤติกรรมในการรับบริการตรวจคัดกรองปากมดลูกตามระยะเวลาอย่างสม่ำเสมอทุก 5 ปี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 2 รุ่นๆละ 1 วัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการส่งเสริมการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเองประจำปีงบประมาณ 2567 จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางคอรีเยาะ สลีมิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......