กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด ปี 2567 ”

ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางคอรีเยาะ สลีมิน

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด ปี 2567

ที่อยู่ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด ปี 2567 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด ปี 2567



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด ปี 2567 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโกตาบารู อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กรกฎาคม 2567 - 30 กันยายน 2567 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโกตาบารู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

งานอนามัยแม่และเด็กเป็นงานส่งเสริมสุขภาพ หนึ่งในสี่ของบริการสาธารณสุขที่ให้บริการกับประชาชนทั่วไป และกลุ่มประชาชนกลุ่มหนึ่งที่สำคัญ ซึ่งหญิงตั้งครรภ์ทุกคนจะต้องได้รับการดูแลจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขครบตามเกณฑ์ที่กำหนด ซึ่งการฝากครรภ์เป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาคุณภาพประชากร การที่คู่รักหรือคู่สมรสมีความรู้ในเรื่องการวางแผนครอบครัวและเตรียมความพร้อมก่อนมีบุตรจะทำให้การตั้งครรภ์มีคุณภาพและปลอดภัยทั้งหญิงตั้งครรภ์และทารก อันตรายของเด็กคลอดก่อนกำหนด อันดับแรก คือ"เสียชีวิต”ก่อนกำหนดมีโอกาสเสียชีวิตสูงมาก รวมถึงยังมีโอกาสที่จะพบภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ได้แก่ ปอดทำงานไม่ดี,มีภาวะ เลือดออกในสมอง ภาวะเลือดออกในลำไส้ เด็กที่คลอดก่อนกำหนดนั้น อวัยวะต่างๆ เช่น ปอด หรือเส้นเลือดที่จะไปหล่อเลี้ยงอวัยวะต่างๆ ยังไม่พร้อม ก็จะมีปัญหาเรื่องตัวเหลือง เด็กที่คลอดก่อนกำหนดจะตัวเล็ก น้ำหนักตัวน้อยอวัยวะทำงานได้ไม่ดีเท่าเด็กทั่วไปเวลาโตขึ้นก็อาจจะเป็นโรคต่างๆ เช่น เบาหวาน ไขมันสูง โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง อัมพฤกษ์ จึงมีโอกาสที่จะเสียชีวิตหรือทุพพลภาพได้มากกว่าคนปกติทั่วไป ซึ่งจะเป็นภาระของผู้ปกครอง และภาระของสังคมต่อไปในอนาคต การคลอดก่อนกำหนด คือ การคลอดที่เกิดขึ้นก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์ ทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์มีโอกาสเสียชีวิตสูง รวมถึงยังมีโอกาสพบภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ เช่น ปอดทำงานไม่ดี มีภาวะเลือดออกในสมอง มีภาวะเลือดออกในลำไส้ ส่งผลให้ทารกมีความพิการในช่วงหลังคลอด บางรายจะมีพัฒนาการล่าช้า หากทารกรายนั้นมีความพิการ ครอบครัว และภาครัฐต้องเสียค่าใช้จ่ายเพื่อการฟื้นฟูสภาพร่างกายและดูแล รักษาต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 4 - 5 ปี บางคนเกิดจากพฤติกรรมของสตรีตั้งครรภ์ ก่อให้เกิดภาวะเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด เนื่องจากสตรีตั้งครรภ์เหล่านั้น  ยังขาดความรู้เรื่องการป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากภาวะคลอดก่อนกำหนด จึงเข้ามารับการรักษาล่าช้าเป็นเหตุ  ให้การยับยั้ง ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดไม่ประสบผลสำเร็จ ทั้งนี้ปัจจุบันข้อมูลงานอนามัยและเด็กโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโกตาบารู มีปัญหาหลายประการที่ต้องได้รับการแก้ไข เช่น พฤติกรรมการดูแลด้านสุขภาพที่ไม่ถูกต้องของหญิงตั้งครรภ์ การฝากครรภ์ไม่ครบ ๕ ครั้งตามเกณฑ์มาตรฐาน หญิงตั้งครรภ์มารับการฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์มากกว่า ๑๒ สัปดาห์ ภาวะซีด ทารกคลอดน้ำหนักน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม ซึ่งเป็นปัจจัยที่สำคัญ    ที่ก่อให้เกิดภาวะเสี่ยงสูงต่อการทำให้เกิดปัญหาการป่วย และการตายของมารดาจากการตั้งครรภ์ การคลอด และระยะหลังคลอดได้ จากการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโกตาบารู    ในปีงบประมาณ ๒๕๖6 ผลการดำเนินงานดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ครบ ๕ ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 82.1๙ (เกณฑ์มากกว่าร้อยละ ๗๐) หญิงตั้งครรภ์รายใหม่มาฝากครรภ์อายุครรภ์น้อยกว่า ๑๒ สัปดาห์ ร้อยละ 84.21  (เกณฑ์มากกว่าร้อยละ ๘๐) มารดามีภาวะซีดครั้งที่ 1 ร้อยละ ๓๕.๒๙ (เกณฑ์น้อยกว่าร้อยละ ๑๔) ทารกแรกคลอดน้ำหนักน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม ร้อยละ 9.41 (เกณฑ์น้อยกว่าร้อยละ ๗) ซึ่งยังมีบางตัวชี้วัดต่ำกว่าเกณฑ์ และจากทะเบียนหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ตำบลโกตาบารู ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2567 จนถึงปัจจุบันมีจำนวนทั้งสิ้น 35 ราย ซึ่งในจำนวนนี้มีหญิงตั้งครรภ์ที่มีฐานะยากจนและเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนดจำนวน 10 ราย จากปัญหางานอนามัยแม่และเด็กดังกล่าวข้างต้น อาจส่งผลทำให้มารดาและบุตรมีความเสี่ยงต่อสุขภาพอนามัยโดยในเด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา จึงเป็นวัยที่มีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในระยะ 2 ปี แรกของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุดเพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน อาหารและภาวะโภชนาการที่ดีปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กวัยก่อนวัยเรียน
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโกตาบารู ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการ"ส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด ปี 2567" โดยให้หญิงตั้งครรภ์ในตำบลโกตาบารูมีการรับรู้ ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพจิตและสุขภาพกาย ก่อนตั้งครรภ์/ขณะตั้งครรภ์ ตลอดไปจนถึงการคลอดบุตร อย่างปลอดภัยไม่เป็นอันตรายต่อทารกที่เกิดมา และสามารถเลี้ยงลูกได้อย่างมีคุณภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 2.1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอดมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และ การดูแลตนเองหลังคลอด ร้อยละ 80 2.2 เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์ที่แต่งงานและอยู่กินกับสามีมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อม เพื่อตั้งครรภ์ ร้อยละ80 2.3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 80 2.4 เพื่อให้แกนนำชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ร้อยละ 80 และผลิตหมอนให้นมบุตรได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด เพื่อป้องกันการคลอดก่อนกำหนดและการตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ (หญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด จำนวน 70 คน 2 วัน)
  3. กิจกรรมอบรมแกนนำชุมชนเชิงปฏิบัติการ เรื่องการป้องกันการคลอดก่อนกำหนด การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (แกนนำชุมชน จำนวน 53 คน 1 วัน )
  4. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการผลิตหมอนแม่อุ้มรัก ลูกน้อยอิ่มท้อง เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (สมาชิกชมรมสายใยรักแห่งครอบครัวตำบลโกตาบารู จำนวน 20 คน 2 วัน)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 53
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงวัยเจริญพันธ์และตั้งครรภ์มีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองขณะตั้งครรภ์ และมีความตระหนัก ถึงความสำคัญของการฝากครรภ์เร็ว โรคที่ก่อให้เกิดภาวะเสี่ยงในขณะตั้งครรภ์ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น และทำให้การตั้งครรภ์เป็นการตั้งครรภ์คุณภาพ
  2. แกนนำสุขภาพและผู้เกี่ยวข้องในชุมชนมีความตื่นตัวและตระหนักในงานอนามัยแม่และเด็ก
  3. ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดกลุ่มสตรีและเด็กดีขึ้นกว่าปีที่ผ่านมาหรือบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 2.1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอดมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และ การดูแลตนเองหลังคลอด ร้อยละ 80 2.2 เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์ที่แต่งงานและอยู่กินกับสามีมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อม เพื่อตั้งครรภ์ ร้อยละ80 2.3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 80 2.4 เพื่อให้แกนนำชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ร้อยละ 80 และผลิตหมอนให้นมบุตรได้
ตัวชี้วัด : 1. หญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอดมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และ การดูแลตนเองหลังคลอด ร้อยละ 80 2. หญิงวัยเจริญพันธ์ที่แต่งงานและอยู่กินกับสามีมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อม เพื่อตั้งครรภ์ ร้อยละ80 3. หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 80 4. แกนนำชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ร้อยละ 80 และผลิตหมอนให้นมบุตรได้

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 53
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 53
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอดมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และ การดูแลตนเองหลังคลอด ร้อยละ 80 2.2 เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์ที่แต่งงานและอยู่กินกับสามีมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อม เพื่อตั้งครรภ์ ร้อยละ80 2.3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 80 2.4 เพื่อให้แกนนำชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ร้อยละ 80 และผลิตหมอนให้นมบุตรได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุกเพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด เพื่อป้องกันการคลอดก่อนกำหนดและการตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ (หญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด จำนวน 70 คน 2 วัน) (3) กิจกรรมอบรมแกนนำชุมชนเชิงปฏิบัติการ เรื่องการป้องกันการคลอดก่อนกำหนด การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่    (แกนนำชุมชน จำนวน 53 คน 1 วัน ) (4) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการผลิตหมอนแม่อุ้มรัก ลูกน้อยอิ่มท้อง เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่      (สมาชิกชมรมสายใยรักแห่งครอบครัวตำบลโกตาบารู จำนวน 20 คน 2 วัน)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด ปี 2567 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางคอรีเยาะ สลีมิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด